...

การศึกษาพื้นที่ห้องครัวเรื่อง คิทเช่น ของ โย

by user

on
Category: Documents
181

views

Report

Comments

Transcript

การศึกษาพื้นที่ห้องครัวเรื่อง คิทเช่น ของ โย
ปริญญานิพนธ์
เรื่ อง
การศึกษาพืน้ ที่ห้องครัวเรื่อง คิทเช่ น
ของ โยะชิโมะโตะ บะนะนะ
吉本バナナの『キッチン』における台所空間についての研究
โดย
นางสาว ณัฏฐภรณ์ คานวล
รหัสนักศึกษา 540110412
เสนอ
อาจารย์ ดร.ทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย
อาจารย์ Takashi Ota
ปริญญานิพนธ์ฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 018499
(Seminar in Japanese Language and Literature)ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา2558
สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปริญญานิพนธ์
เรื่ อง
การศึกษาพืน้ ที่ห้องครัวเรื่อง คิทเช่ น
ของ โยะชิโมะโตะ บะนะนะ
吉本バナナの『キッチン』における台所空間についての研究
โดย
นางสาว ณัฏฐภรณ์ คานวล
รหัสนักศึกษา 540110412
เสนอ
อาจารย์ ดร.ทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย
อาจารย์ Takashi Ota
ปริญญานิพนธ์ฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 018499
(Seminar in Japanese Language and Literature)ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา2558
สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ก
คำนำ
ปริ ญญานิพนธ์ ฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา018499 (Seminar in Japanese
Language and Literature) สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดทาขึ ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ว่าใน
เรื่ องมีการนาเสนอพื ้นที่ห้องครัวไว้ อย่างไร และมีความสัมพันธ์อย่างไรเกี่ยวกับแก่นเรื่ อง ทังนี
้ ้ก็เพื่อ
เข้ าใจความสาคัญของคาว่าห้ องครัวในเรื่ องมากยิ่งขึ ้นอีกทัง้ ได้ เห็นความสาคัญและความหมาย
ของพื ้นที่ในวรรณกรรมที่มีอิทธิพลต่อตัวละครอีกด้ วย
ผู้วิจัยหวังเป็ นอย่างยิ่ งว่าปริ ญญานิพนธ์ ฉบับนี ้จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ที่มีความ
สนใจในวรรณกรรมญี่ปนุ่ นอกจากนี ้ผู้วิจยั หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าปริ ญญานิพนธ์ฉบับนี จ้ ะมีประโยชน์
ต่องานวิจยั ในอนาคตและหวังว่าจะได้ รับการวิจยั สานต่อในวรรณกรรมญี่ปนเรื
ุ่ ่ องนี ้อีกต่อ ๆ ไป
ณัฏฐภรณ์ คานวล
27 เมษายน 2559
ข
บทคัดย่ อ
ห้ วข้ องานวิจยั : การศึกษาพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิทเช่น ของโยะชิโมะโตะ บะนะนะ
ผู้วิจยั นางสาวณัฏฐภรณ์ คานวล
รหัสนักศึกษา 540110412
งานวิจัยชิ น้ นี เ้ ป็ นการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Decsriptive Analysis) โดยมี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิทเช่น (キッチン) ในด้ านการนาเสนอพื ้นที่
ห้ องครัวในเรื่ องและความสัมพันธ์ ของแก่นเรื่ องกับพื ้นที่ห้องครัว โดยจากการใช้ แนวคิดการศึกษา
พื ้นที่ในนวนิยายของ โรลองด์ บูร์เนิฟ (Roland Bourneuf) ซึ่งได้ แบ่งข้ อมูลออกเป็ น 5 หัวข้ อ คือ 1.
ที่ตงั ้ และบริ เ วณโดยรอบ 2. การนาเสนอห้ องครั ว 3. บทบาทของพื น้ ที่ ห้องครั วกับตัวละคร 4.
ธรรมชาติและความหมายของพื ้นที่ห้องครัว และ5. ห้ องครัวในฐานะภาพลักษณ์ของโลกทัศน์ของผู้
แต่ง เพื่อศึกษาการนาเสนอพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ องอันนาไปสู่การหาความหมายนามธรรมของพื ้นที่
ห้ องครัว นัน่ ก็คือ เป็ นพื ้นที่ของครอบครัวสาหรับตัวละคร ซึ่งมีอิทธิพลกับตัวละครที่สดุ มากกว่าพื ้นที่
ทางสังคม จากนัน้ นาไปวิเคราะห์และตีความซึ่งทาให้ การเปลี่ยนแปลงของตัวละครอันเกิดขึ ้นใน
พื ้นที่ห้องครัวได้ ผลคือ 1. พื ้นที่ที่ทาให้ ตวั ละครเรี ยนรู้เรื่ องชีวิตและความตาย 2. พื ้นที่การทาหน้ าที่
ให้ -รับของตัวละครหลักกับสองแม่ลูกทะนะเบะ ซึ่งผลการวิจยั พบว่าจากสองข้ อนี ้ได้ ทาให้ เห็นถึง
ความสัมพันธ์ของแก่นเรื่ องและพื ้นที่ห้องครัวที่ทาให้ ตวั ละครมีการเปลี่ยนแปลงในชีวิต จากการที่ได้
ศึกษาในงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อ งที่มีผ้ ไู ด้ ศกึ ษาเกี่ยวกับวรรณกรรมเรื่ อง คิทเช่น ได้ มีมมุ มองว่าเป็ นเรื่ อง
ของความสมดุลทางเพศ หรื อโครงสร้ างครอบครัว แต่ผ้ วู ิจยั เห็นว่าไม่เพียงแค่สิ่งนี ้ที่ทาให้ ตวั ละครมี
การเปลี่ยนแปลง แต่อาจเป็ นเพราะว่าตัวละครมีความปรารถนาอยากสร้ างความสัมพันธ์ในรูปแบบ
ครอบครัวขึ ้นใหม่ จนนาไปสู่การยอมรับสัจธรรมชีวิตและสามารถใช้ ชีวิตให้ มีความสุขได้ ในที่สดุ ซึ่ง
ห้ องครัวที่เป็ นแหล่งพลังงานหรื อหนึ่งในปั จจัยสาคัญพื ้นฐานต่อชีวิตมนุษย์ หรื อก็คือปั จจัย 4 แต่
ยิ่งกว่านันตั
้ วละครยังได้ รับปั จจัยที่ 5 ซึ่งเป็ นสิ่งที่สมั ผัสได้ ด้วยจิตใจ จึงทาให้ ตวั ละครในเรื่ องที่ไม่
เพียงแต่ตวั ละครมิกะเงะ แต่ตวั ละครยูอิจิก็ยงั ได้ เติบโตทางด้ านร่างกายและจิตใจอีกด้ วย
ค
要旨
論文名:吉本バナナの『キッチン』における台所空間についての研究
氏名:ナッタポーン・カムヌアン
学生番号:540110412
本稿は現象分析的な研究である。小説『キッチン』におけるの台所空間について
を考察するためである。それは、台所空間はどう表わされているか、台所空間と小説の
内容との関係はどうかということ問題に思い研究することにした。筆者はローラン・ブ
ルヌフ(Roland
Bourneuf)
の小説の分析方法で使って、小説『キッチン』の台所空間をど
う書かれるかとうと、5つ課題を分けた。それは、1.台所空間の位置と周囲、
2.
台所空間の雰囲気、3.台所空間の役割、4.小説の台所空間の意味、5.作家の思想
としての台所空間の意味。それを考察してから、台所空間の抽象的な意味は家族の空間
で、主人公桜井みかげにとって一番大事な空間だと分かった。
次に、そういう主人公に影響が受けた台所空間を分析した。それは、1.主人公
みかげに「死」のことを考えさせた空間 2.主人公の与える―受け取るという行動が
あった空間だと分かった。なぜかというと、他の空間より台所空間の方で主人公は他の
人と人当たりがあるから。さらに、先行研究を調べてから、様々な論がった。例えば、
ジェンダーフレーや家族の構造などである。しかし、筆者は主人公は家族関係が欲しか
ったのことだ分かった。それによると、台所空間とテーマとの関係と分かった。本稿
は、家族の皆が死んだ後、主人公は希望の生活のための方法を探したということがテー
マだと分かった。それは、台所は基本的人間ニーズが受け取れた空間であるが、体力し
かなくて、精神のニーズも受け取れ空間だと分かった。それで、主人公は体成長も精神
成長もできると分かった。
ง
กิตติกรรมประกำศ
งานวิจยั ครัง้ นี ้สาเร็ จและลุล่วงได้ โดยได้ รับความช่วยเหลือจาก อาจารย์ ดร.ทนพร ตรี รัตน์
สกุลชัย อาจารย์ที่ปรึ กษาปริ ญญานิพ นธ์ ที่ได้ กรุณาให้ ความช่วยเหลื อให้ คาปรึ กษา ตลอดจนคา
แนะแนวทางการทาวิจัยที่ถูกต้ อง อีกทัง้ แก้ ไขข้ อบกพร่ องต่างๆของงานวิจัยฉบับนี ้ และ อาจารย์
Takashi Ota อาจารย์ที่ปรึกษาปริ ญญานิพ นธ์ ชาวญี่ปนที
ุ่ ่ได้ ให้ คาปรึกษาแนวคิดและตรวจแก้ ไข
ฉบับภาษาญี่ ปนอย่
ุ่ างถูกต้ องสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึง อยากขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทัง้ สองท่าน
อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี ้
นอกจากนี ข้ ้ า พเจ้ าขอขอบคุณ เพื่ อ นๆทุก คนในสายวรรณคดี ญี่ ปุ่ น และเพื่ อ น ๆ ใน
สาขาวิ ช าภาษาญี่ ปุ่นที่ คอยช่ว ยเหลื อ ให้ กาลัง ใจก าลัง กายรวมทัง้ สนับ สนุน ตลอดจนให้ ความ
คิดเห็นในการปรับปรุงและพัฒนาปริญญานิพนธ์ชิ ้นนี ้ จึงอยากขอขอบคุณจากใจจริ งมา ณ โอกาส
นี ้
สุดท้ ายนี ้ผู้วิจยั ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกในครอบครัวที่ ให้ กาลังใจ
เสมอไม่ให้ ย่อ ท้ อ จึง ทาให้ งานวิ จัย นี ส้ าเร็ จ ลุล่วงด้ ว ยดี และขอขอบคุณทุกท่านที่ มี ส่ว นรวมใน
ปริญญานิพนธ์ชิ ้นนี ้แต่มิได้ เอ่ยนามมา ณ ที่นี ้
ณัฏฐภรณ์ คานวล
รหัสนักศึกษา 540110412
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เมษายน 2559
จ
สำรบัญ
เรื่อง
หน้ ำ
คำนำ
ก
บทคัดย่ อ
ข
บทคัดย่อภาษาญี่ปนุ่
ค
กิตติกรรมประกาศ
ง
บทที่ 1 บทนำ
1
1.ที่มาและความสาคัญของปั ญหา
1
2.ปั ญหาของการวิจยั
4
3.วัตถุประสงค์ของการวิจยั
4
4.ขอบเขตของการวิจยั
4
5.วิธีการดาเนินการวิจยั โดยย่อ
4
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
1. เกี่ยวกับวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ของ โยะชิโมะโตะ บะนะนะ
5
5
1.1 ประวัตผิ ้ แู ต่ง
5
1.2 เรื่ องย่อ
5
2. ทฤษฎีเกี่ยวกับพื ้นที่ในวรรณกรรม
10
2.1 ความหมายและความสาคัญของพื ้นที่ในวรรณกรรม
10
2.2 การศึกษาและวิเคราะห์พื ้นที่ในวรรณกรรม
13
ฉ
3.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง
บทที่ 3 ฉำกห้ องครัวที่ปรำกฏในเรื่อง
18
22
1.ที่ตงและบริ
ั้
เวณโดยรอบ
22
2. การนาเสนอห้ องครัว
27
2.1 พื ้นที่ห้องครัวในบ้ านของมิกะเงะ
27
2.2 พื ้นที่ห้องครัวในแมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะ
32
2.3 พื ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหาร
36
3. บทบาทของพื ้นที่ห้องครัวกับตัวละคร
38
3.1 บทบาทของพื ้นที่ห้องครัวในบ้ านของมิกะเงะ
39
3.2 บทบาทพื ้นที่ห้องครัวในแมนชันของครอบครัวทะนะเบะ
40
3.3 บทบาทพื ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหาร
43
4. ธรรมชาติและความหมายของพื ้นที่ห้องครัว
44
4.1 พื ้นที่ห้องครัวในบ้ านมิกะเงะ
44
4.2 พื ้นที่ห้องครัวในแมนชันครอบครัวทะนะเบะ
45
4.3 พื ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหาร
46
5. ห้ องครัวในฐานะภาพลักษณ์ของโลกทัศน์ของผู้แต่ง
บทที่ 4 วิเครำะห์ ควำมสัมพันธ์ ของพืน้ ที่ห้องครัวและแก่ นเรื่อง
1. แก่นเรื่ อง
47
50
50
ช
2. ความหมายของพื ้นที่ห้องครัวสาหรับตัวละครกับการเปลี่ยนแปลงของตัวละคร
51
2.1 พื ้นที่ที่ตวั ละครเรี ยนรู้เรื่ องชีวิตและความตาย
51
2.2 พื ้นที่การทาหน้ าที่ให้ -รับ ของตัวละครหลักกับสองแม่ลกู ทะนะเบะ
53
3. ความสัมพันธ์ระหว่างแก่นเรื่ องและห้ องครัว
55
บทที่ 5 สรุป อภิปรำยผลและข้ อเสนอแนะเพิ่มเติม
57
1.สรุปผลการวิจยั
57
2.ข้ อเสนอแนะ
58
สรุปภาษาญี่ปนุ่
59
บรรณานุกรม
68
ซ
目次
こと
ページ
第 1 章 序論
59
1.研究動機
59
2. 問題提起
59
3.研究の目的
59
4. 研究の範囲
59
5. 研究の方法の概略
59
第 2 章 先行研究
61
1.
61
2.
3.
第3章
吉本バナナの『キッチン』について
1.1 作家の略歴
61
1.2『キッチン』の概要
61
小説における場所の理論
62
2.1
場所の意味と役割
62
2.2
小説の場所に関する分析
62
先行研究
小説での台所の空間について
1.台所の所在地と周囲
62
64
64
ฌ
2.台所空間の雰囲気
64
3.台所空間の役割
64
4. 小説の台所空間の意味
65
5.
65
作家の思想としての台所空間の意味
第 4 章 分析した結果
66
1. 主人公みかげに「死」のことを考えさせた空間
66
2.
主人公の与える―受け取るという行動があった空間
66
3.
台所空間とテーマとの関係
66
第 5 章 まとめ
67
1.
まとめ
67
2.
提案
67
1
บทที่ 1 บทนำ
1.ที่มำและควำมสำคัญของปั ญหำ
วรรณกรรมเรื่ อง คิ ชเช่น (キッチン) ของโยะชิโมะโต บะนะนะ (吉本ばなな) เป็ นผลงาน
ประพันธ์เรื่ องแรกและได้ สร้ างชื่อเสียงให้ แก่โยะชิโมะโตะ อย่างกว้ างขวางในฐานะนักเขียนมืออาชีพ
โดยผลงานของโยะชิโมะโตะ ซึ่งเป็ นนักเขียนวรรณกรรมร่ วมสมัย ในยุค 80 ของญี่ ปนมี
ุ่ จุดเด่นที่
น่าสนใจคือ สะท้ อนให้ เห็นถึงจิตใจของเด็กหนุ่มสาววัยรุ่นในยุคใหม่ของญี่ปนที
ุ่ ่ค้นหาความหมาย
ของชีวิตและการดิ ้นรนต่อสู้ของชีวิตท่ามกลางความเหงาในสังคม อีกทังผลงานเรื
้
่ องแรกอย่าง คิ
ชเช่น ก็ทาให้ เกิดกระแสปรากฏการณ์ “บานานามาเนียร์ ”(Bananamania) เกิดขึ ้น ซึ่งเป็ นการกล่าว
ขนานนามจากสื่อมวลชน, นิตยสารและหนังสือพิมพ์ที่ทรงอิทธิพลในประเทศตะวันตกอย่างอเมริ กา
และยุโรป อาทิ เดอะนิวยอร์ กไทมส์ (The New York Times), เดอะนิวยอร์ กเกอร์ (The
Newyorker), เดอะบอสตันโกลบ (The Boston Globe) และ แทตเลอร์ (Tatler) (The Japan
Times, Ltd., ม.ป.ป.)
My graduation story, Moonlight Shadow won the Izumi Kyoka Prize from the
faculty. After graduation was when I started to seriously think about writing. I
would often write during my breaks when waitressing. It was then when I
wrote Kitchen, arguably one of my most famous works. (Yoshimoto, profile,
2009)
จากข้ างต้ นโยะชิโมะโตะได้ ประพันธ์ผลงานเรื่ อง คิ ชเช่น ในชื่อเรื่ อง มูนไลท์ ชาโดว์ (ムーン
ライト・シャドウ) สาหรับเป็ นผลงานประพันธ์ ในการจบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ก่อนจะถูก
ตีพิมพ์ครัง้ แรกอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 30 เดือนมกราคม ปี ค.ศ.1988 โดยสานักพิมพ์ฟุกตุ ะเกะ
โชะเต็ง (福武書店) (Yoshimoto, 1988) ซึ่งวรรณกรรมเรื่ องนี ไ้ ด้ รับรางวัลทางด้ านวรรณกรรม 2
รางวัล ได้ แก่ รางวัลนักเขียนหน้ าใหม่จากรางวัลไคเอ็น ครัง้ ที่ 6 (第 6 回海燕新人文学賞受賞) ใน
เดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ.1987 และรางวัลอิซุมิ เคียวกะ ครัง้ ที่16 (16 回泉鏡花文学賞受賞) ใน
2
เดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1988 นอกจากนี ้ยังได้ รับเลือกจากรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการครัง้ ที่ 39 (第
39 回芸術選奨文部大臣新人賞受賞)
ในรางวัลนักเขียนหน้ าใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.1989
(Yoshimoto, profile, 2001) ต่อมาวรรณกรรมเรื่ องนี ้ยังถูกตีพิมพ์ซ ้าอีกหลายครัง้ ยิ่งไปกว่านัน้
วรรณกรรมเรื่ องนี ้ยังเป็ นที่ชื่นชอบสาหรับ
นักอ่านวัยรุ่นชาวญี่ปนเป็
ุ่ นจานวนมากตังแต่
้ ตีพิมพ์
ครัง้ แรก จึงทาให้ โยะชิโมะโตะกลายเป็ นนักเขียนที่มีผลงานขายดีและมีชื่อเสียงตังแต่
้ นนมา
ั ้ โดยมี
ยอดจาหน่ายหนังสือ 60 ล้ านกว่าเล่มในประเทศญี่ปนและ
ุ่
20กว่าประเทศอื่นทัว่ โลก จากการขาย
ลิขสิทธิ์ ผลงานเพื่อแปลเป็ นภาษาอื่นมากกว่า 10 ภาษา รวมถึงภาษาไทยที่แปลโดย “เพลงดาบ
แม่น ้าร้ อยสาย” ซึ่งถูกตีพิมพ์แล้ วทังหมด
้
8 ครัง้ (โยะชิโมะโตะบะนะนะ, 2550) อีกทังเป็
้ นที่นิยม
ยิ่งขึ ้นเมื่อถูกนาไปสร้ างเป็ นภาพยนตร์ ถึง 2 ครัง้ ครัง้ แรกออกฉายวันที่ 29 เดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1989
กากับโดย โมะริ ตะ โยะชิมิท์สึ (森田芳光) (IMDb.com, Inc., ม.ป.ป.) และครัง้ ที่ 2 ออกฉายที่
ประเทศญี่ ปนในเดื
ุ่
อนธันวาคม ปี ค.ศ. 1997 กากับโดย Yim Ho (嚴浩) ผู้กากับภาพยนตร์ ชาว
ฮ่องกง (IMDb.com, Inc., ม.ป.ป.) ซึง่ ทาให้ โยะชิโมะโตะกลายเป็ นนักเขียนที่ได้ รับความนิยมทังใน
้
ประเทศญี่ ปนและในต่
ุ่
างประเทศด้ วย สาหรับในประเทศไทย ปราบดา หยุ่น 1 นักเขียนวรรณกรรม
รางวัลซีไรต์ประจาปี พ.ศ.2545 (Goodreads Inc., ม.ป.ป) ได้ เขียนคานิยมในด้ านหลังปกของฉบับ
แปลไทยที่แปลโดย”เพลงดาบแม่น ้าร้ อยสาย” ไว้ วา่
“วรรณกรรมชัน้ นาของญี่ ปนุ่ ไม่ว่าจะเป็ นยุคสมัยใด ล้ วนมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว
คล้ ายคลึงกัน นัน่ คือ ความพยายามถ่ายทอดถึงการดิ ้นรนของมนุษย์ที่ต้องการค้ นหา
1
ปราบดา หยุน่ เป็ นบุตรชายของสุทธิชยั หยุน่ บรรณาธิการอานวยการของเครือเนชัน่ และนันทวัน หยุ่น อดีตบรรณาธิการนิตยสาร
ลลนา ปราบดา หยุ่น เกิดเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2516 สาเร็ จการศึกษาชันมั
้ ธยมต้ นจากโรงเรี ยนเทพศิรินทร์ หลังจากนัน้ ได้
ศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา และจบการศึกษาชันปริ
้ ญญาตรี จาก Cooper Union School for Advancemet of Science and
Art ในปี พ.ศ. 2540 โดยปราบดา หยุ่น ได้ ทางานด้ านการออกแบบกราฟิ กที่แมนฮัตตันก่อนจะกลับมาเกณฑ์ทหารในประเทศไทย
หลังจากนัน้ ปราบดา หยุน่ ได้ ทางานเป็ นคอลัมนิสต์ให้ กบั นิตยสารเนชัน่ สุดสัปดาห์ และเป็ นคนเขียนบทให้ กับรายการโทรทัศน์เรื่ อง
ปมไหม (Silk Knot) ซึง่ มีเนื ้อหาเกี่ยวกับการหายตัวไปอย่างลึกลับของจิม ทอมป์สัน ผู้ผลิตผ้ าไหมรายใหญ่ของไทย ผลงานสาคัญอื่น
ของปราบดา หยุ่น อาทิ บทภาพยนตร์ เรื่ อง เรื ่ องรัก น้อยนิ ด มหาศาล ปี พ.ศ. 2546 และเรื่ อง คาพิ พากษาของมหาสมุทร ปี พ.ศ.
2549 กากับโดย เป็ นเอก รัตนเรื อง นอกจากนีป้ ราบดา หยุ่น ได้ รับรางวัลซีไรต์ ในปี พ.ศ. 2545 เมื่อเขามีอายุได้ 29ปี จากเรื่ อง
“ความน่าจะเป็ น”
3
ความพอใจในสิ่ งแวดล้ อมที่เป็ นอยู่ แม้ ว่าในบางครัง้ สิ่งแวดล้ อ มนัน้ จะเต็มไปด้ วย
ความโศกสลดหรื อโดดเดี่ยวก็ตาม คิทเช่ น เป็ นเรื่ องราวการเดินทางภายในจิตใจของ
หญิงสาวคนหนึ่งที่ต้อเผชิญกับการสูญเสียและความสับสน เล่าผ่านสภาพแวดล้ อม
ร่วมสมัยและอารมณ์ขนั -ฝั น-คะนึง ที่อาจจะมีรสขมเหมือนชาเขียวญี่ปนในบางครั
ุ่
ง้ แต่
ก็ช่มุ ใจเมื่อได้ ลิม้ เมื่อได้ “เพลงดาบแม่น้าร้อยสาย” ผู้ชานาญการเดินทางภายนอกใน
โลกกว้ างอย่างหญิ งสาวคนหนึ่งเป็ นผู้แปล ย่อมเป็ นปรากฎการณ์อันน่า “พอใจ” ไม่
น้ อย เพราะเรื่ อ งราวที่ อ ยู่ในหัวใจ กับเรื่ องราวสารพันในโลกกว้ า งมี เ พี ยงเนื อ้ และ
กระดูกไม่กี่ชัน้ เป็ นกาแพงกัน้ คิทเช่ น เป็ นหนัง สื อเล็ก ๆ เล่ม หนึ่ง ที่ กระโดดข้ า ม
กาแพงนันไปมาได้
้
อย่างน่าเอ็นดู” (ปราบดา หยุน่ , 2546)
ดัง นัน้ ผลงานวรรณกรรมเรื่ อง คิ ช เช่ น ของโยะชิโมะโตะ บะนะนะ จึง ควรค่าที่ ผ้ ูวิจัยจะ
ศึกษาเพื่อให้ เข้ าใจถ่องแท้ ถึงความคิดและแก่นเรื่ องผ่านพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ องนี ้
วรรณกรรมมีองค์ประกอบที่สาคัญที่จะขาดไปไม่ได้ อาทิ ฉาก(Setting) สหะโรจน์ กิตติ
มหาเจริ ญ อ้ างในงานวิจยั เรื่ อง “พืน้ ที ่”ในเรื ่องสัน้ ดรรชนี นางของอิ งอรว่า เมื่อกล่าวถึงคาว่าพื ้นที่
มักเข้ าใจว่าคือลักษณะทางกายภาพในทางภูมิศาสตร์ โดยรวมไปถึงอาณาเขต การปกครอง ขนาด
หากในนิยามอีกความหมายหนึ่ง “พืน้ ที่ ” คือสิ่งประดิษฐ์ ในฐานะทางวัฒนธรรมที่บรรจุด้วย
ความหมาย (อภิญญา เฟื่ องฟูสกุล, 2543, น.66) นอกจากนี ้การทาความเข้ าใจเรื่ อง “พื ้นที่” ยัง
สามารถเชื่อมโยงไปสู่ปรากฏการณ์ ทางสังคมด้ านต่างๆ ไม่เพียงเฉพาะแต่วัฒนธรรมการดาเนิน
ชี วิต แต่ยัง รวมไปถึง ความคิด เรื่ องชนชัน้ เพศสถานะ อัต ลักษณ์ ทางเพศอี ก ด้ วย การเข้ าใจ
ความหมายพื น้ ที่ ในความหมายนามธรรมที่เชื่อมโยงกับประเด็นเหล่านี จ้ ะทาให้ สามารถเข้ าใจ
ปรากฏการณ์ ทางสัง คมได้ เ ป็ นอย่างดี (สหะโรจน์ กิตติมหาเจริ ญ , 2554) และเช่นกันในงาน
วรรณกรรมเรื่ อง คิทเช่น ก็มีจดุ เด่นของพื ้นที่ห้องครัวซึ่งเป็ นทังชื
้ ่อเรื่ องและฉากส่วนสาคัญที่ปรากฏ
ในตัววรรณกรรม ดังนันในวิ
้ จยั เล่มนี ผ้ ้ วู ิจยั อยากจะศึกษาพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น
ว่าไม่เพียงเฉพาะมีลกั ษณะทางกายภาพเท่านันแต่
้ ยงั มี ความหมายแฝงที่สะท้ อนความนึกคิดและ
ความทรงจาของตัวละครรวมถึงภาพสะท้ อนของสังคมที่มีความสัมพันธ์ตอ่ แก่นเรื่ องได้ อีกด้ วย
4
2.ปั ญหำของกำรวิจัย
1.) การนาเสนอพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ชเช่น เป็ นอย่างไร
2.) พื ้นที่ห้องครัวมีความสัมพันธ์ตอ่ แก่นเรื่ องอย่างไร
3.วัตถุประสงค์ ของกำรวิจัย
1.) เพื่อศึกษาการนาเสนอพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ชเช่น
2.) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของพื ้นที่ห้องครัวกับแก่นเรื่ องในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น
4. ขอบเขตของกำรวิจัย
ศึกษาผ่านงานวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น (キッチン) ของ โยะชิโมะโต บะนะนะ (吉本ばな
な)
ฉบับตีพิมพ์ครัง้ ที่ 16 วันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ.2005 โดยสานักพิมพ์ Kadokawa
Shoten Publishing Co., Ltd. (เนื่องจากผู้วิจยั ไม่สามารถจัดหาต้ นฉบับที่พิพม์ครัง้ แรกได้ ใน
ประเทศไทย)
5. วิธีกำรดำเนินกำรวิจัยโดยย่ อ
1.) อ่านตัวบทวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ให้ เข้ าใจโดยละเอียด
2.) ศึกษาประวัติผ้ เู ขียนและภูมิหลังรวมทังแรงบั
้
นดาลใจในการเขียนวรรณกรรมเรื่ องนี ้โดย
ละเอียด
3.) อ่านศึกษาและรวบรวมข้ อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับวรรณกรรมเรื่ องนี ้
4.) วิเคราะห์พื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ องนี ้
5.) วิเคราะห์ความคิดและเหตุการณ์ของตัวละครเมื่อปรากฏอยูใ่ นพื ้นที่ห้องครัว
6.) นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์วา่ พื ้นที่ห้องครัวมีความสัมพันธ์อย่างไรต่อแก่นเรื่ อง
5
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
1. เกี่ยวกับวรรณกรรมเรื่อง คิทเช่ น ของ โยะชิโมะโตะ บะนะนะ
1.1 ประวัตผิ ้ ูแต่ ง
โยะชิโมะโตะ บะนะนะ (吉本ばなな) เป็ นนามปากกาของ โยะชิโมะโตะ มะโฮะโกะ (吉本
真秀子)
นักเขี ยนวรรณกรรมร่ วมสมัยของญี่ ปุ่น เกิ ดที่เมื องโตเกี ยว ประเทศญี่ ปนุ่ เมื่ อวันที่ 24
เดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ.1964 กรุ๊ปเลือด A ปั จจุบนั อายุ 51 ปี โยะชิโมะโตะเป็ นบุตรสาวของ โยะชิ
โมะโตะ ทะกะอะกิ (吉本 隆明) นักกวี, นักวิจารณ์วรรณกรรมและนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงของญี่ปนุ่
อีกทังยั
้ งเป็ นหนึง่ ในผู้สนับสนุนเบื ้องหลังของกลุ่มนักเคลื่อนไหววัยรุ่นฝ่ ายซ้ ายในยุค 60 อีกด้ วย ดัง
นัน้ โยะชิ โ มะโตะจึง เป็ นเด็ ก ที่ เ ติ บ โตมาในครอบครั ว ที่ เ คารพสิ ท ธิ เ สรี แ ละมี ป ระชาธิ ป ไตยใน
ครอบครัว ส่งผลทาให้ โยะชิโมะโตะได้ เรี ยนรู้ชีวิตอย่างมีอิสระตังแต่
้ วยั เยาว์ อีกทังโยะชิ
้
โมะโตะได้ รับ
แรงบันดาลใจการเป็ นนักเขียนตังแต่
้ ยงั เด็กจากพี่สาวคือ ฮะรุ โนะ โยะอิโกะ (ハルノ宵子) ซึ่งเป็ น
หนึง่ ในนักเขียนการ์ ตนู ที่มีชื่อเสียงของญี่ปนอี
ุ่ กด้ วย
ชี วิ ต การเป็ นนัก เขี ย นมื อ อาชี พ ของโยะชิ โ มะโตะ เริ่ ม ขึ น้ หลัง จบการศึก ษาจากคณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปะนิฮน (日本大学芸術学部) โดยได้ ประพันธ์ผลงานเรื่ องสันเพื
้ ่อ
เป็ นปริ ญ ญานิ พ นธ์ ส าหรั บ จบการศึก ษาเรื่ อ ง มู น ไลท์ ชาโดว์ ( ムーンライト・シャドウ) ซึ่ง
ผลงานเรื่ องนี ้ได้ รับรางวัลจากสาขาวรรณกรรมของมหาวิทยาลัย ต่อมาหลังจากจบการศึกษาระดับ
มหาวิทยาลัย โยะชิโมะโตะได้ ทางานพิเศษในร้ านอาหารและสนใจในการทางานเขียนด้ วย โดยใช้
เวลาช่วงพักของพนักงานทางานเขียนไปด้ วย ซึ่งผลงานเรื่ องแรกของโยะชิโมะโตะคือ วรรณกรรม
เรื่ อง คิ ทเช่น โดยถูกตีพิมพ์เมื่อวันที่ 30 เดือนมกราคม ปี ค.ศ.1988 โดยสานักพิมพ์ฟุกตุ ะเกะ โชะ
เต็ง (福武書店) ซึ่งวรรณกรรมเรื่ องนี ้เป็ นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและทาให้ โยะชิโมะโตะเป็ น
นักเขียนที่เป็ นที่ร้ ู จกั กว้ างขวางในญี่ ปนุ่ ในระยะแรกโยะชิโมะโตะได้ รับอิทธิพลจากงานเขียนของ
สตีเฟ่ น เอ็ดวิน คิง (Stephen Edwin King) นักเขียนชาวอเมริ กนั ในงานเขียนประเภทไม่สยองขวัญ
(non-horror) แต่หลังจากนันเริ
้ ่ มให้ ความสนใจในงานเขียนของ ทรูแมน คาโพตี (Truman Capote)
6
นัก เขี ย นนวนิ ย าย บทละคร และนัก แสดงชาวอเมริ กัน และไอแซค บาเซวิ ส ซิ ง เกอร์ (Isaac
Bashevis Singer) นักเขียนชาวโปแลนด์ ในช่วงหลังที่โยะชิโมะโตะประสบความสาเร็ จในอาชีพ
นักเขียนแล้ ว
วรรณกรรมเรื่ อง คิ ชเช่น เป็ นผลงานเขียนเล่มแรก และได้ รับรางวัลนักเขียนหน้ าใหม่จาก
รางวัลไคเอ็น ครัง้ ที่ 6 (第 6 回海燕新人文学賞受賞) ในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ.1987 และ
รางวัลอิซุมิเคียวกะครัง้ ที่ 16 (16 回泉鏡花文学賞受賞) ในเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1988 นอกจากนี ้
วรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น และเรื่ อง อุตะกะตะ (うたかた) หรื อ Sanctuary ยังได้ รับรางวัลนักเขียน
หน้ าใหม่ดีเด่นครัง้ ที่ 39 ที่มอบและคัดสรรโดยกระทรวงศึกษาธิการ (第 39 回芸術選奨文部大臣新
人賞受賞)
ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.1989 ต่อมาผลงานวรรณกรรมเรื่ อง ท์ สึงุมิ (つぐみ) ได้ รับ
รางวัล ยะมะโมะโตะ ชูโกะโร (山本周五郎賞) ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ.1989 และผลงาน
วรรณกรรมเรื่ อง Amurita (アムリタ) ได้ รับรางวัลมุระซะกิ ชิกิบุ ครัง้ ที่ 5 (5回紫式部文学賞) ใน
เดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ.1995 นอกจากนี ้ยังได้ รับรางวัลจากนานาชาติในสาขาวรรณกรรม อาทิเช่น
รางวัล Scanno ของประเทศอิตาลี (イタリアのスカンノ賞) ในเดือนมิถนุ ายน ปี ค.ศ.1993 และ
รางวัล Fendissime (イタリアのフェンディッシメ文学) ในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ.1996 และ
รางวัล Maschera d' argento (イタリアのマスケラダルジェン
ト賞文学部門)
ใ น เ ดื อ น
พฤศจิกายน ปี ค.ศ.1999 และรางวัล Bunkamura Deux Magots ครัง้ ที่10 (Bunkamura ドゥマゴ
文学賞) ในเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.2000 และล่าสุดรางวัล Capri ของประเทศอิตาลี (イタリアのカプ
リ賞) ในเดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ.2011
หลัง จากที่ ว รรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่ น ได้ ถูกตีพิ ม พ์ ก็ทาให้ โ ยะชิ โมะโตะ เป็ นนัก เขี ย นที่ มี
ชื่อเสียงและเป็ นนักเขียนที่ มียอดขายดี โดยมียอดจาหน่ายกว่า 60 ล้ านเล่มในประเทศญี่ ปุ่น
นอกจากนี ้วรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ยังได้ ถกู ขายลิขสิทธิ์ แปลและตีพิมพ์เป็ นภาษาต่างประเทศอีก
กว่า 30 ประเทศทัว่ โลก และยังถูกทาเป็ นภาพยนตร์ ถึง 2 ครัง้ จึงทาให้ โยชิโมโตค่อนข้ างมีชื่อเสียงใน
แวดวงสื่อมวลชนสานักพิมพ์ นิตยสารชื่อดังของประเทศตะวันตก และได้ รับขนานนามให้ กบั กระแส
วรรณกรรมเรื่ องนี ้ว่า “Bananamania” ส่วนที่มาของนามปากกา “บานานา” มาจากโยะชิโมะโตะ
7
ได้ เห็นและรู้ สึกชอบดอกกล้ วยในร้ านกาแฟขณะที่ทางานพิเศษอยู่ อีกทังคิ
้ ดว่าเป็ นชื่อที่น่ารัก และ
เป็ นชื่ อ ที่ ไ ม่ไ ด้ จ ากัดเพศว่าเป็ นชายหรื อหญิ ง ซึ่ง ภายหลัง โยชิ โมะโตะได้ เปลี่ ย นชื่ อที่ เ ขี ยนจาก
ตัวอักษรคันจิหรื อตัวอักษรจีน (漢字) เป็ นชื่อที่เขียนด้ วยอักษรฮิระงะนะ(ひらがな)โดยยังคงออก
เสียงเดิมว่า โยะชิโมะโตะ บะนะนะ (よしもとばなな) แต่ตอ่ มาภายหลังในปี ค.ศ.2005 ได้ เปลี่ยน
กลับไปใช้ ชื่อที่เขียนด้ วยอักษรจีนและผสมกับตัวอักษรฮิระงะนะที่ใช้ ในครัง้ แรกสุดเช่นเดิม
อย่างไรก็ตามถึงแม้ ว่าโยะชิโมะโตะจะเป็ นนักเขียนที่ มีชื่อเสี ยงและประสบความสาเร็ จ
อย่างมาก แต่มีลกั ษณะนิสยั ที่แตกต่างจากบุคคลที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ทวั่ ไปคือ แต่งกายเรี ยบง่าย
เมื่อปรากฏตัวต่อสาธารณะชน อีกทังใช้
้ ชีวิตอย่างเรี ยบง่ายและไม่คอ่ ยเปิ ดเผยข้ อมูลส่วนตัวนัก อีก
ด้ านหนึง่ โยะชิโมะโตะได้ เปิ ดเว็บไซต์ทางการของตนเอง ซึง่ เป็ นระบบสองภาษาทังญี
้ ่ปนและอั
ุ่
งกฤษ
เพื่อมุ่งตอบข้ อสงสัยเกี่ยวกับงานเขียนของตนและเขียนบันทึกชีวิตประจาวันสาหรับให้ ผู้อ่านชาว
ต่างประเทศที่ ชื่นชอบงานเขียนของตนสามารถติดตามข้ อมูลเหล่านัน้ ได้ (Yoshimoto, 2001)
นอกจากนี ้ยังมีเว็บเพ็จส่วนตัว ซึ่งโยะชิโมะโตะได้ เขียนไว้ ในประวัติส่วนตัวว่า เธอได้ สมรสกับ ฮิ
โระโยะชิ ทะฮะตะ (田畑浩良) นักกายภาพบาบัด Rolfing ในปี 2003 และในปี เดียวกันก็ ได้ ให้
กาเนิดบุตรชาย 1 คน (Yoshimoto Banana, 2009)
She identifies her two main themes as “the exhaustion of young Japanese in
contemporary Japan” and “the way in which terrible experiences shape a
person’s life”. (Suzuki Italia S.p.A., 2012)
จากข้ างต้ นโยะชิโมะโตะ กล่าวว่างานเขียนของเธอมีแก่นหลักสาคัญคือ “ความสิ ้นหวังของ
วัยรุ่นในยุคร่วมสมัยของญี่ ปน”
ุ่ และ “หนทางชีวิตที่ประสบกับสิ่งเลวร้ ายและมีผลกระทบต่อชีวิต ”
(แปลโดยผู้วิจยั )
นอกจากนีใ้ นงานเขียนของโยะชิโมะโตะยังได้ อธิ บายถึง ปั ญหาชีวิตวัยรุ่ น , ปรัชญาอัตถิ
ภาวะนิยม และวัยรุ่ นที่สบั สนกับการติดอยู่กับจินตนาการและชีวิตจริ ง ซึ่งไม่เพียงมีเป้าหมายแค่
วัย รุ่ น ที่ ดื อ้ รั น้ แต่ยัง รวมถึ ง ผู้ใ หญ่ ที่ ยัง คงมี จิ ต ใจและความเป็ นเด็ ก อยู่ ถึ ง แม้ ว่ า ตัว ละครใน
8
วรรณกรรมของโยชิโมะโตะ จะมีความเป็ นสมัยใหม่และได้ รับอิทธิพลของความเป็ นอเมริ กนั แต่ตวั
ละครทุกตัวล้ วนมีจิตวิญญาณและลักษณะของความเป็ นญี่ ปนอยู
ุ่ ่มากเช่นกัน อีกสิ่งหนึ่งที่พบใน
งานเขียนของโยะชิโมะโตะคือ ความสามารถเข้ าลึกถึงจิตใจผู้อ่า นอย่างอบอุ่นและซื่อบริ สทุ ธิ์ ซึ่งมี
วิธีให้ ความนัยแฝงได้ อย่างเป็ นธรรมชาติและเรี ยบง่าย โดยมักจะพบว่าโยะชิโมะโตะนาสิ่งที่พบเห็น
ทัว่ ไปรอบตัว เช่น เสียงลัน่ ของพื ้นไม้ หรื อ กลิ่นที่หอมหวนที่มาจากห้ องครัว หรื อแม้ กระทัง่ อาหาร
มาเขียนเป็ นสิ่งที่เชื่อมโยงกับความทรงจาและความรู้ สึกของตัวละครหลักในเรื่ อง (Suzuki Italia
S.p.A., 2012)
ปั จจุบนั โยะชิโมะโตะยังคงมีผลงานเขียนวรรณกรรมออกตีพิมพ์อีกหลายเรื่ อง อาทิเช่น
เรื่ อง Shall We Love? (僕たち、恋愛しようか) ในปี ค.ศ.2013 ที่ถกู ตีพิมพ์ในนิตยสาร Anan ซึ่ง
ตัวละครหลักได้ รับแรงบันดาลใจจาก ลีซงึ กิ (Lee Seung Gi) นักร้ อง นักแสดงชาวเกาหลี (CJ E&M
Corp., 2013) และล่าสุดเรื่ อง ฟุนะฟุนะ ฟุนะบะชิ (ふなふな船橋) ในปี ค.ศ.2005
Superficial and specially catered for popular consumption. Sometimes, I feel
guilty since I write my stories for fun, not for therapy. But I am not deterred
from my ultimate dream of receiving the Nobel Prize for Literature. (Yoshimoto
Banana, 2009)
นอกจากนีข้ ้ างต้ นโยะชิโมะโตะ ได้ กล่าวไว้ ว่า งานเขียนของเธอถูกวิพากษ์ วิจารณ์ ว่ามุ่ง
เพียงแต่ให้ ความบันเทิงและเป็ นงานเขียนเพียงผิวเผินเพื่อสร้ างรายได้ เท่านัน้ อีกทังบางครั
้
ง้ เธอได้
รู้ สึกละอายที่ ง านเขี ยนของเธอเป็ นเพี ยงสิ่ง เพื่ อความบันเทิง ไม่ใช่ สิ่ง เพื่ อการเยี ยวยาจิ ตใจ แต่
โยะชิโมะโตะก็ยงั คงมีความฝั นสูงสุดคือการได้ รับรางวัลโนเบลในสาขาวรรณกรรม
1.2 เรื่องย่ อ
วรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น จะแบ่งออกเป็ น 2 บท คือ ห้ องครัว และ พระจันทร์ เต็มดวง โดยใน
ส่วนบทห้ องครัว มิกะเงะ ซะกุระอิ ตัวละครหลักได้ เล่าถึงชีวิตเรื่ องราวของตนเองจนกระทัง่ ได้ เจอกับ
ครอบครัวทะนะเบะดังนี ้
9
มิกะเงะเป็ นหญิงสาววัยรุ่ นกาพร้ าที่เติบโตมาพร้ อมกับตาและยาย เพราะพ่อแม่เสียชีวิต
จากไปตังแต่
้ เด็ก เธอเป็ นคนที่ชอบการอยูใ่ นห้ องครัวที่สดุ เพราะเป็ นสถานที่อ่นุ ใจและสบายใจที่สดุ
สาหรับเธอ หลังจากที่ย ายมาด่วนจากไปกะทันหัน มิกะเงะก็ได้ ร้ ู จกั กับเพื่อนร่ วมมหาลัยที่ทางาน
พิเศษอยู่ที่ร้านขายดอกไม้ ที่ยายชอบไปประจาตอนยัง มีชีวิตอยู่ เขาชื่อว่า ทะนะเบะ ยูอิจิ หลังพิธี
งานศพมิกะเงะก็ถกู ชวนให้ ไปอยู่ที่อพาตเม้ นต์ของเขาก่อนระหว่างที่มิกะเงะหาบ้ านใหม่ ซึ่งอพาต
เม้ นต์นนยู
ั ้ อิจิได้ อาศัยอยู่กบั พ่อผู้ที่แปลงเพศเป็ นผู้หญิงชื่อว่าทะนะเบะ เอะริ โกะ ชื่อเดิมคือยูจิ ยูจิ
เลี ้ยงดูยอู ิจิมาลาพังหลังจากภรรยาเสียชีวิตไปด้ วยการเป็ นเจ้ าของกิจการไนท์คลับ โดยครอบครัว
ทะนะเบะต้ อนรับและใจดีกบั มิกะเงะมาก ซึง่ ในระหว่างนันมิ
้ กะเงะเริ่มสนิทสนมกับเอะริ โกะซัง เช่น
เวลาไม่สบายใจหรื อมีเรื่ องทุกข์ใจ เอะริ โกะซังจะช่วยเหลือ ให้ คาแนะนาแก่มิกะเงะเสมอ เธอจึง
ผูกพันกับครอบครัวทะนะเบะมาก ความสัมพันธ์ กบั ครอบครัวทะนะเบะในช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ของ
เธอก็ได้ ดาเนินต่อไปเรื่ อยๆ เพราะสาหรับเธอแล้ วครอบครัวทะนะเบะถึงแม้ ไ ม่ใช่สายเลือดเดียวกัน
แต่ด้วยความหวังดีและจริ งใจของครอบครัวทะนะเบะ ทาให้ เธอรู้สึกว่าเป็ นครอบครัวที่เหลืออยู่บน
โลกใบนี ้ของตัวเอง หลังจากนันเธอก็
้
ได้ งานเป็ นผู้ช่วยอาจารย์สอนทาอาหารและได้ ย้ายออกจากอ
พาตเม้ นต์ของครอบครัวทะนะเบะ
ในส่ว นของบท พระจัน ทร์ เ ต็ม ดวง เริ่ ม ตัง้ แต่มิ ก ะเงะได้ ย้ า ยออกจากอพาตเม้ น ต์ ข อง
ครอบครัวทะนะเบะ หลังจากนัน้ ก็ได้ รับโทรศัพท์จากยูอิจิเรื่ องการเสียชีวิตของเอะริ โกะซัง ซึ่งถูก
สตอคเกอร์ ที่แอบสะกดรอยตามและมาติดพันเอะริ โกะซังที่ไนท์คลับ ด้ วยความป็ นห่วงหลังจาก
ได้ รับโทรศัพท์จากยูอิจิ มิกะเงะจึงได้ รีบเร่งไปพบและพักอยู่ที่บ้านทะนะเบะอีกครัง้ ทังคู
้ ต่ ่างปรับ
ทุกข์ซึ่งกันและกัน และเป็ นช่วงเวลาที่มิกะเงะได้ ระลึกความทรงจาก่อนหน้ านี ้ที่ได้ อยู่กบั ครอบครัว
ทะนะเบะ อีกทังมิ
้ กะเงะยังได้ เรี ยนรู้ความหมายของชีวิตในระหว่างที่ทางานเป็ นผู้ช่วยอาจารย์สอน
ทาอาหารจากเพื่อนร่วมงานของเธอ และเหตุการณ์ตา่ งๆที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ ้น เช่น แฟนสาวของ
ยูอิจิที่คิดว่าเธอมีความสัมพันธ์ เชิงชู้สาวกับยูอิจิ จนถึงขัน้ มาพบเธอและต่อว่าเธอในห้ องครัวที่ที่
ท างาน หรื อ แม้ กระทั่ง ชิ ก ะจัง เพื่ อ นร่ ว มงานสาวประเภทสองของเอะริ โ กะซัง ที่ เ ข้ าใจผิ ด
ความสัมพันธ์ ของเธอและยูอิจิ หลังจากนันมิ
้ กะเงะได้ ไปทางานนอกสถานที่กับคณะอาจารย์และ
10
คณะพนักงานที่เมืองอิสุ ในระหว่างที่พักที่โรงแรมนันมิ
้ กะเงะเกิดรู้ สึกหิวจึงออกไปหาร้ านอาหาร
อร่อยๆ จนได้ เจอเข้ ากับร้ านคัตสึด้ง ระหว่างนันเธอก็
้
ได้ นึกถึงยูอิจิที่ได้ ไปเที่ยวพักผ่อนให้ สบายใจ
ที่อิเสะฮะระ เธอจึงได้ ตดั สินใจจะซื ้อคัตสึด้งไปส่งให้ ยอู ิจิถึงโรงแรมที่นนั่ พอไปถึงเธอได้ ปีนระเบียง
ขึ ้นไปหายูอิจิ และส่งทงคัตสึให้ นัง่ พูดคุยกันและได้ ระลึกถึงความทรงจาที่ผ่านมาอีกครัง้ อีกทังได้
้
พูดกับยูอิจิว่าขอให้ เธอและเขาติดต่อกันไปอย่างนี ้เรื่ อยๆ เพราะเราทังคู
้ ต่ า่ งก็อยู่อย่างโดดเดี่ยวบน
โลกใบนี แ้ ล้ ว หากเราผ่า นเรื่ องราวโหดร้ ายในชี วิ ตไปด้ วยกันมันคงจะดีไ ม่น้ อย และขอให้ ยูอิ จิ
เข้ ม แข็ง ขึน้ โดยเร็ ววัน ส่วนตัวเธอนัน้ หลังจากทุกข์ เศร้ าเรื่ องเอะริ โกะซัง มาก่อนหน้ านีก้ ็ ได้ ทาใจ
ยอมรับได้ แล้ วว่า เอะริ โกะซังจากไปแล้ วจริ งๆ และเธอคงยังต้ องมีชี วิตอยู่ต่อไปบนโลกนี ้ ในวัน
สุดท้ ายของการพักที่อิสุ หลังจากที่ได้ ออกไปเดินเล่นที่ชายหาดแล้ ว มิกะเงะก็ได้ รับโทรศัพท์จากยูอิ
จิ ซึ่งในตอนสุดท้ ายระหว่างบทสนทนาของเธอกับยูอิจิทางโทรศัพท์นนั ้ ยูอิจิบอกว่าจะไปรับเธอที่
สถานีพร้ อมรอของฝากจากเธอ ส่วนตัวเขาเองก็มีของฝากจากอิเสะฮะระให้ เธอเช่นกัน ในระหว่าง
นันมิ
้ กะเงะได้ นกึ ถึงห้ องที่อพาตเม้ นต์ของยูอิจิที่อบอุน่ และอบอวลไปด้ วยควันไอจากน ้าเดือด
2. ทฤษฎีเกี่ยวกับพืน้ ที่ในวรรณกรรม
ในวิจยั เล่มนีไ้ ด้ ศึกษาเกี่ ยวกับพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ของโยะชิโมะโตะ
บะนะนะ ซึ่ง จะสัง เกตจากตัว ชื่ อ เรื่ อ งและเนื อ้ เรื่ อ งว่า มี ค าว่า ห้ อ งครั ว ปรากฏอยู่ ซึ่ง มี ผ ลต่อ
พฤติกรรมของตัวละครและเหตุการณ์ ดังนันผู
้ ้ วิจยั จะขออธิบายถึงความสาคัญและความหมาย
ของพื ้นที่ในวรรณกรรมก่อนจะนาเสนอทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องในการวิเคราะห์ พื ้นที่ห้องครัว
ในวรรณกรรมเรื่ องนี ้
2.1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของพืน้ ที่ในวรรณกรรม
วรรณกรรม (Literary work) หมายถึงงานเขียนทัว่ ไปทุกรูปแบบมีขอบเขตในงานเขียนทุก
ชนิ ด อาทิ เ ช่ น งานเขี ย นประเภทบัน เทิ ง คดี (Fiction) หมายถึ ง เรื่ อ งที่ ส มมติ ขึ น้ หรื อ เรื่ อ งที่ ใ ช้
จินตนาการสร้ างขึ ้นโดยมีเจตนาให้ ความเพลิดเพลินแก่ผ้ อู ่านเป็ นสาคัญ แต่ในขณะเดียวกัน ก็อาจ
11
สอดแทรกความรู้ แนวคิดต่างๆเข้ าไว้ ด้วย 2 นวนิยาย (Novel) ก็เป็ นหนึ่งในประเภทของงานเขียน
ประเภทบันเทิงคดี ซึ่งจิตรลดา สุวตั ถิกุลได้ สรุปความหมายและลักษณะของนวนิยายไว้ ในหนังสือ
วรรณกรรมไทยสมัยใหม่ ไว้ ว่า นวนิยายเป็ นเรื่ องสมมติขึ ้น ถึงแม้ ว่าบุคคลและพฤติกรรมต่างๆ จะ
ไม่ได้ เกิดขึ ้นจริ ง แต่ตวั ละครในเรื่ องก็เป็ นที่ยอมรับว่ามาจากแบบฉบับของบุคคลที่มีชีวิตจริ ง และ
พฤติกรรมของตัวละครก็สอดคล้ องกับลัก ษณะความเป็ นไปที่ปรากฏขึ ้นจริ งในสถานที่และยุคสมัย
นันๆ
้ โดยใช้ วิธีการแต่งที่สอดแทรกอารมณ์เหตุการณ์อนั ชวนสะเทือนใจต่างๆ เข้ า ไป ดัง นัน้ สถานที่
หรื อพื ้นที่ (Setting หรื อ Local) ก็เป็ นส่วนประกอบสาคัญอย่างหนึ่งในหลายๆองค์ประกอบ ซึ่งฉาก
หรื อพื ้นที่ คือเครื่ องสนับสนุนการดาเนินเรื่ องเพื่อทาให้ เห็นจริ งขึ ้น เป็ นถ้ อ ยคาสานวนให้ ผ้ อู ่านวาด
มโนภาพบ้ าง หรื อบอกกล่าวประวัติของบุคคลหรื อสถานที่ หรื อยุคสมัยที่เกิดขึน้ หรื อดาเนินไป
และเป็ นส่วนที่ทาให้ ก่อเกิดอารมณ์อย่างใดอย่างหนึง่ และเป็ นพลังให้ เกิดพฤติกรรมตามโครงเรื่ อง3
นอกจากนี ค้ วามหมายของพื น้ ที่ นนั ้ สหะโรจน์ กิตติม หาเจริ ญได้ กล่าวในงานวิจัยเรื่ อง
“พื ้นที ่”ในเรื ่ องสัน้ ดรรชนี นางของอิ งอรว่า พื ้นที่เป็ นมากกว่าพื ้นที่ ก็คือเมื่อกล่าวถึงคาว่าพื ้นที่ มัก
เข้ าใจว่าคือลักษณะทางกายภาพในทางภูมิศาสตร์ หากในนิยามอีกความหมายหนึ่ง “พื ้นที่ ” คือ
สิ่งประดิษฐ์ ในฐานะทางวัฒนธรรมที่บรรจุด้วยความหมาย โดยการมองพื ้นที่ไม่ได้ มองว่า
เป็ นพื ้นที่ในลักษณะรูปธรรมหรื อมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า หากแต่มองพื ้นที่ในลักษณะของความคิด
มนุษย์ที่ส ะท้ อนต่อพืน้ ที่ รวมไปถึง การใช้ พื น้ ที่เป็ นภาพตัวแทนของผลิตผลกฎเกณฑ์ข้อกาหนด
ต่างๆ ที่มนุษย์สร้ างขึ ้น อีกทังการท
้
าความเข้ าใจเรื่ องของ “พื ้นที่” ที่ปรากฏในสังคมและวัฒนธรรม
นันคงจะไม่
้
ได้ หมายถึง “พื ้นที่” เชิงรูปธรรมหรื อองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ แต่มีความหมายเชิง
นามธรรมหรื อผลผลิตจากความคิดของมนุษย์ที่สะท้ อนออกมา รวมทัง้ มองว่าพืน้ ที่ ไม่ได้ รองรั บ
ปรากฏการณ์ ทางสังคม แต่กาลังทาหน้ าที่เป็ นตัวกาหนดและมีปฏิสมั พันธ์ กับปรากฏการณ์ทาง
สังคมด้ วย4
2
ประทีบ เหมือนนิล. (2523). วรรณกรรมไทยปั จจุบนั . กรุงเทพ: เจริญวิทย์การพิมพ์. หน้ า 14
จิตลดา สุวตั ถิกลุ . (2527 ). วรรณกรรมไทยร่วมสมัย (พิมพ์ครัง้ ที ่ 2). นครปฐม: แผนกบริการกลาง สานักงานอธิการบดี พระราชวัง
สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้ า 12-19
4
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ, (2554). "พื ้นที่" ในเรื่องสันดรรชนี
้
นางของอิงอร. การประชุมทางวิ ชาการระดับชาติ “ภาษา วรรณคดี ไทย
และการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : การเรี ยนรู้และสร้างสรรค์ จากสังคมไทยสู่สงั คมโลก” , หน้ า 313-314.
3
12
จากข้ างต้ นทาให้ เ ห็นว่าพืน้ ที่ นนั ้ สามารถมองได้ 2 ความหมาย คือ สิ่ง ที่เป็ นวัตถุหรื อ
สถานที่ในรู ปแบบ เชิงรู ปธรรม ซึ่งในความหมายที่บนั ทึก ไว้ ในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานให้
ความหมายคาว่า “รูปธรรม” ไว้ วา่ เป็ นสิ่งที่สามารถรับรู้ได้ ทางตา หู จมูก ลิ ้น กาย อันได้ แก่ รูป เสียง
กลิ่น รส และสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ ด้วยกาย หรื อสิ่งที่สามารถแสดงออกมาให้ ปรากฏเป็ นจริ ง 5 แต่
อี ก ความหมายคื อ สิ่ ง ที่ ส ะท้ อนความคิ ด ของมนุ ษ ย์ ที่ มี ต่ อ พื น้ ที่ ใ นรู ป แบบเชิ ง นามธรรม
มีความหมายลึกซึ ้ง ตามความหมายในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานว่า “นามธรรม” หมายถึง สิ่ง
ที่ไม่มีรูป คือ รู้ไม่ได้ ทางตา หู จมูก ลิ ้น กาย รู้ได้ เฉพาะทางใจเท่านัน้ 6
ตัวอย่างบทวิจยั เรื่ อง “พืน้ ที ่”ในดรรชนี นางของอิ งอร ของสหะโรจน์ กิตติมหาเจริ ญ (2554)
ได้ อธิบายว่า พืน้ ที่ในวรรณกรรมเรื่ องดรรชนีนางมีความสัมพันธ์ กับความทรงจาของตัวละคร ซึ่ง
ความทรงจานับว่ามีบทบาทสาคัญต่อตัวละครเพราะนอกจากจะเป็ นการรื อ้ ฟื ้นความรู้ สึกแล้ วยัง
เป็ นการรื อ้ ฟื น้ เหตุการณ์ในอดีตที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของตัวละคร เพื่อไม่ให้ กลับไปสู่พื ้นที่
เดิมตรงนันหรื
้ อเป็ นพลัง เกื อ้ หนุนการมีชีวิตที่ดีต่อไปก็ได้ ซึ่งในเรื่ องดรรชนีนางนี ้มีการนาเสนอ
แนวคิดเรื่ องพื น้ ที่ ผ่านความทรงจ าของตัวละครโดยผูกพันอยู่กับพื น้ ที่ ที่สามารถจับต้ องได้ สอง
ประการคือบ้ านกับร่างกาย ผลของงานวิจยั นันสหะโรจน์
้
ได้ อธิบายว่า
จากการศึกษาเรื่ อง “พื ้นที่” ในเรื่ องสัน้ ดรรชนีนางนี ้ชี ้ให้ เห็นว่าดรรชนีนางอาจจะไม่ใช่
วรรณกรรมเรื่ องรักเพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีสญ
ั ญะอื่นซ่อนอยู่ในตัวบทและสัญญะอื่น นี ้
ก็เป็ นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้ สามารถอ่านดรรชนีนาง และเข้ าใจถึงพฤติกรรมของ
ตัวละครบางตัวที่แสดงความรู้ สึกหรื อการกระทาที่ผ้ อู ่านเกิด ความรู้ สึกฉงนได้ ดังที่
ผู้เขียนบทความได้ นาประเด็นเรื่ องของพื ้นที่เข้ ามาวิเคราะห์ตวั บทเรื่ องดรรชนีนางของ
อิงอร จนทาให้ เข้ าใจว่าพฤติกรรมของตัวละครนันส่
้ วนหนึ่งมาจากการยึดโยงอยู่กับ
ความทรงจาการโหยหาอดีตที่ไม่มีวนั กลับคืนมาโดยผ่านพื ้นที่ด้านต่างๆ นัน่ เอง (สหะ
โรจน์ กิตติมหาเจริญ, 2554)
5
บริ ษัท สนุก ออนไลน์ จากัด. (ม.ป.ป). ราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ.2542. ค้ นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ค้ น จาก
http://dictionary.sanook.com
6
บริษัท เมตามีเดีย เทคโนโลยี จากัด. (ม.ป.ป). ราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ.2542. ค้ นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก
http://dict.longdo.com
13
อีกตัวอย่างการวิเคราะห์วรรณกรรมที่ให้ ความหมายพืน้ ที่แบบนามธรรม ซึ่งอิงอร สุพนั ธุ์วณิช ได้
กล่าวไว้ ในการวิเคราะห์ ฉากอาหรับในนวนิ ยายของโสภาค สุวรรณ ไว้ ว่า การใช้ ฉากอาหรับในเจ้ า
ทะเลทราย ของโสภาค เป็ นการใช้ ฉากบรรยากาศที่เป็ นนามธรรมมากกว่ารู ปธรรม กล่าวคือ เน้ น
เรื่ องบรรยากาศของสังคมที่เคร่ งครัดขนบประเพณี โดยโสภาคสนใจเหตุการณ์จริ งแล้ วนามาเป็ น
โครงเรื่ องสาคัญและแสดงความสัมพันธ์กบั ฉากอาหรับในเชิงนามธรรม7
ดังนันความส
้
าคัญของพื ้นที่ในการตีความและวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่ องหนึ่งโดยพิจารณา
ในส่วนของฉากหรื อพื ้นที่ในวรรณกรรมนันก็
้ เป็ นส่วนสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะทาให้ เห็นถึงความนึก
คิดที่แฝงไว้ ในวรรณกรรมของผู้แต่งได้ อีกวิธีหนึ่ง โดยไม่ได้ พิจารณาในเพียงส่วนที่เป็ นวัตถุ รูปธรรม
เท่านัน้ แต่จะพิจารณาจากสิ่งที่เป็ นนามธรรมแฝงในพื ้นที่นนด้
ั ้ วย แม้ ว่าบางคนจะเห็นว่ าฉากนันไม่
้
ค่อยมีความสาคัญนักเมื่อเทียบกับส่วนอื่นแต่การเรี ยนรู้ เรื่ องฉากจะช่วยทาให้ ผ้ อู ่านเข้ าใจบทบาท
ของตัวละคร อารมณ์ และสะท้ อนแนวคิดของเรื่ อง โดยฉากอาจจะไม่ไ ด้ สะท้ อน หรื อมี บทบาท
ทังหมดก็
้
ได้ 8 อีกทังการท
้
าความเข้ าใจเรื่ อง “พื ้นที่” นันสามารถเชื
้
่อมโยงไปสูป่ รากฏการณ์ทางสังคม
ด้ านต่างๆ ไม่เฉพาะแต่วฒ
ั นธรรมการดาเนินชีวิต แต่ยงั ครอบคลุมไปถึงความคิดเรื่ อง ชนชัน้ เพศ
สถานะ อัตลักษณ์ทางเพศด้ วย การเข้ าใจความหมายพื ้นที่ในความหมายนามธรรมที่เชื่อมโยงกับ
ประเด็นสาคัญเหล่านี ้จะทาให้ เข้ าใจปรากฏการณ์ทางสังคมได้ เป็ นอย่างดี9
2.2 กำรศึกษำและวิเครำะห์ พนื ้ ที่ในวรรณกรรม
ถึงแม้ การศึกษาและวิเคราะห์พื ้นที่ในงานวรรณกรรมจะไม่มีหลักทฤษฎีพื ้นที่อย่างชัดเจน
แต่การศึกษาและวิเคราะห์พื ้นที่ในวรรณกรรมนันจะพิ
้
จารณาและขึ ้นอยู่กบั กลวิธีของผู้เขียนซึ่งแต่
ละคนจะมี วิ ธี ใ ช้ ไม่ เ หมื อ นกัน อี ก ทัง้ ย่ อ มขึ น้ อยู่ กับ การวางโครงเรื่ อ งและเนื อ้ เรื่ อ งว่ า จะเน้ น
องค์ประกอบหลักใดจึงจะแสดงแนวคิดของผู้เขียนได้ เด่นชัด โดยงานประพันธ์ในศตวรรษที่ 17 อาทิ
เช่น ละครคลาสสิก มักจะไม่ได้ ให้ ความสาคัญและรายละเอียดข้ อมูลเกี่ยวกับฉากของเรื่ อง ซึ่งจะให้
7
อิงอร สุพนั ธุ์วณิช. (2547). วรรณกรรมวิ จารณ์ . กรุงเทพ: บริษัท แอคทีฟ พริน้ จากัด. หน้ า 194
อิงอร สุพนั ธุ์วณิช. (2547). วรรณกรรมวิ จารณ์ . กรุงเทพ: บริษัท แอคทีฟ พริน้ จากัด. หน้ า 186
9
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. (2554). "พื ้นที่" ในเรื่องสันดรรชนี
้
นางของอิงอร. การประชุมทางวิ ชาการระดับชาติ “ภาษา วรรณคดีไทย
และการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : การเรี ยนรู้และสร้างสรรค์จากสังคมไทยสู่สงั คมโลก” , หน้ า 314.
8
14
ผู้อ่านจินตนาการถึงสถานที่อนั เป็ นฉากของเรื่ องเอง ต่อมาในศตวรรษที่ 18 ถึงแม้ ผ้ ปู ระพันธ์จะให้
รายละเอียดของสถานที่ในงานเขียนประเภทละครและนวนิยายมากขึ ้น แต่สถานที่ก็ยงั คงเป็ นเพียง
ฉากของเรื่ องเท่านัน้ จนกระทัง่ ตังแต่
้ ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในครึ่งหลังศตวรรษเป็ นต้ น
มา สถานที่ได้ เข้ ามามีบทบาทสาคัญและเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของนวนิยายเหมือนกับตัวละครมาก
ขึ ้น ตัวอย่างผลงานเหล่านัน้ อาทิเช่น เรื ่อง Julie ou la Nouvelle Héloïse ของ ฌ็อง-ฌาคส์ รูซโซ
(Jean-Jacques Rousseau) นักประพันธ์ ในสมัยนัน้ เขี ยนให้ สถานที่ เข้ ามามี ส่วนร่ วมในการ
ถ่ายทอดความรู้สกึ อารมณ์และความนึกคิดของตัวละคร10
ในศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการใช้ ทฤษฎีวิเคราะห์วรรณกรรมร่วมกับศาสตร์ อื่นเข้ ามาช่วย โดย
การค้ นพบเรื่ องจิตใต้ สานึกหรื อทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ก็ได้ ถกู
นามาใช้ ในการศึกษาวรรณกรรมแนวจิตวิเคราะห์ขึ ้น และจึงก่ อให้ เกิดที่มาของการศึกษาหาคุณค่า
ทางสัญลักษณ์ของสถานที่ขึ ้นจากนันเป็
้ นต้ นมา11
ตัวอย่างการใช้ แนวคิดเรื่ องพื ้นที่เพื่อศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมโดยสามารถนามาใช้
กับ งานวิ จัย เล่ ม นี ไ้ ด้ อาทิ เ ช่ น บทความเรื่ อ ง “การจัด องค์ ป ระกอบสถานที ่ใ นนวนิ ย าย” ของ
โรลองด์ บูร์เนิฟ (Roland Bourneuf) ซึ่งถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ.1970 ซึ่งในแนวคิดของเขาได้ อธิบาย
โดยให้ ความสาคัญแก่สถานที่ในฐานะองค์ประกอบหลักหนึ่งของนวนิยาย เป็ นการศึกษาภายในตัว
บท ซึง่ สามารถทาได้ ทงในแนวนอน
ั้
(synchronique) และแนวดิ่ง (diachronique) โดยหาแกนหลัก
5 ประการได้ แก่
1.การพรรณนาการจัดโครงสร้ างสถานที่ เป็ นการศึกษาหาข้ อมูลสถานที่ในนวนิยายเพื่อหา
ว่าสถานที่นนั ้ คือที่ไ หน ก็จะได้ เห็นสถานที่ซึ่งตัวละครจะมีวิ วัฒนการต่อไป เป็ นการศึกษาการดู
ภาพรวมของมิตสิ ถานที่โดยศึกษาตามเหตุการณ์ทีเกิดขึ ้นตามลาดับเวลา
10
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 4
11
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 5
15
2. วิธีการนาเสนอสถานที่ในนวนิยาย เป็ นการศึกษาหากลวิธีการต่างๆของนักเขียนในการ
เสนอภาพสถานที่วา่ เป็ นอย่างไร ซึ่งนักเขียนอาจจะเสนอภาพสถานที่ ทีเดียวทังหมดแต่
้
ต้นเรื่ องหรื อ
จะแบ่งไปทีละตอนทีละเล็กละน้ อยร่วมไปกับเหตุการณ์อื่นที่เกิดขึ ้น ทาให้ เกิดความรู้สึกว่าเป็ นหนึ่ง
เดียวกันระหว่างตัวละครกับสถานที่ อาจจะมีเทคนิคของจิตกรร่วมด้ วย ได้ แก่ การจัดองค์ประกอบ
มุมมอง มิติ โทนสี เป็ นต้ น
3. หน้ าที่ของสถานที่ในนวนิยาย เป็ นการศึกษาโดยดูจากความสัมพันธ์ของสถานที่กบั ตัว
ละครและสถานการณ์ และเพราะเหตุใดนักเขียนจึงเลือกสถานที่นั น้ ๆ เขาต้ องการให้ ผ้ ูอ่านรู้ สึก
อย่างไร มีผลทางจิตวิทยา ต่อตัวละครอย่างไรรึไม่
4. ธรรมชาติและความหมายของสถานที่ เป็ นการศึกษาว่าสถานที่จะให้ บรรยากาศอย่างไร
แก่เรื่ อง แก่ตวั ละคร จะเป็ นเพียงฉาก หรื อกรอบ หรื อสิ่งแวดล้ อมให้ แก่ตวั ละคร ดังจะกล่าวได้ ว่า
สถานที่ประหนึง่ เป็ นตัวละครอีกตัว หากไม่มีสถานที่ก็จะไม่มีตวั ละคร เหตุการณ์ และเรื่ องแต่ง
5. สถานที่ในนวนิยายในฐานะภาพลักษณ์ ของโลกทัศน์ ของผู้แต่ง เป็ นการศึกษาพืน้ ที่
นอกจากสิ่งที่อธิบายได้ ในทางรูปธรรม นัน่ คือเป็ นสิ่งที่เป็ นนามธรรม ซึง่ เป็ นเรื่ องปรัชญาของสถานที่
ซึง่ สะท้ อนจากงานวรรณกรรม12
นอกจากนีผ้ ลงานการวิจยั เรื่ อง มิ ติสถานที ่ในนวนิ ยายของ ฟร็ องซัวส์ โมริ ยคั ของวัลยา
วิวัฒน์ศร ได้ แบ่ง ประเด็นแนวการศึกษาวิเคราะห์ไว้ 5 บท ซึ่งได้ ศึกษาวิเคราะห์ตามแนวทาง
การศึกษาพื ้นที่ในวรรณกรรมของบูเนิร์ฟ ซึง่ ผู้วิจยั ได้ สนใจแนวการศึกษาผลงานการวิจยั นี ้โดยจะขอ
ยกตัวอย่างและสรุปผลการวิจยั ไว้ ดงั นี ้
บทที่1 เป็ นการศึกษาการสร้ างภาพลวงตาตามขนบนวนิยายสัจนิยม โดยวัลยาได้ สรุ ป
บริ บททางภูมิ รัฐ ศาสตร์ ของประเทศฝรั่ ง เศสโดยเน้ นสถานที่ อัน เป็ นฉากของนวนิย ายไว้ ซึ่ง ใน
12
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 9-11
16
นวนิยายของโมริยคั ส่วนใหญ่มีฉากสถานที่อยูใ่ นแคว้ นชีรงด์และแคว้ นลองด์13
บทที่2 สถานที่กับการกาหนดเหตุการณ์หลักของเรื่ อง เป็ นการศึกษาบทบาทของสถานที่
กับเหตุการณ์หลักจากนวนิยาย ซึ่งวัลยาได้ ศึกษาสถานที่ที่ผูกพันแนบแน่นกับเหตุการณ์ หลักใน
เรื่ องตาม สถานที่ด้วยกัน อาทิเช่น คฤหาสน์กบั การวางโครงเรื่ องใน Génitrix แยกออกเป็ นประเด็น
ย่อยอีก ได้ แก่ การใช้ ภาษา, การกาหนดให้ ตวั ละครชายเป็ นวัตถุปรารถนา, การใช้ ถานที่แทนตัว
ละคร และการให้ สถานที่มีสว่ นร่วมในการกระทาหรื อในความขัดแย้ งของตัวละคร14
บทที่3 บทบาทของสถานที่ในการเสนอภาพตัวละคร โดยวัลยาได้ ใช้ วิธีการ 2 แบบคือ
1.การศึกษาบทบาทของสถานที่ในการเสนอลักษณะของตัวละคร ในแง่ สถานภาพทาง
สังคม บุคลิกลักษณะ และบุคลิกภาพ
2. การวิเคราะห์บทบาทของสถานที่ตอ่ การกระทาของตัวละครโดยใช้ ความรู้ด้านการศึกษา
วรรณคดีแนวสัญญะวิทยา (Semiology)15
ซึง่ การศึกษานี ้ทาให้ เห็นได้ ชดั เจนว่าสถานที่และทรัพย์สินที่ดิน มีบทบาทต่อลักษณะของตัว
ละครเป็ นอย่างมาก16
โดยผู้วิจัยจะนาเสนอตัวอย่างเพี ยงแบบแรกที่จ ะใช้ ในงานวิจัยเท่านัน้ เนื่ องจากการใช้
ทฤษฎีสญ
ั ญะวิทยานันจะท
้ าให้ การวิจยั กว้ างและซับซ้ อนเกินไป โดยที่วลั ยาได้ สรุปในตอนท้ ายของ
13
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า14-41
14
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า42-69
15
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 70
16
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 89
17
ผลการวิจยั บทนี ้ว่า การศึกษาบทบาทของสถานที่ในการเสนอลักษณะของตัวละครกับการวิเคราะห์
โดยใช้ สญ
ั ญะวิทยานันได้
้ ผลไม่ตา่ งกัน17
บทที่4 ความสัมพันธ์ระหว่างมิติเวลากับมิติสถานที่ ซึ่งในบทนี ้วัลยาได้ ใช้ แนวคิดเรื่ องมิติ
เวลาของมิกาอิล บัคติน (Mikhail Bakhtine)นักปรัชญาและนักทฤษฎีนวนิยายชาวรัสเซียมาช่วย
วิเคราะห์ด้วย ซึ่งบัคตินได้ นาเสนอรู ปแบบของมิติเวลาและของกาลเทศะในนวนิยายในบทที่สาม
ของผลงานหนังสือชื่อ สุทรี ยศาสตร์ และทฤษฎี นวนิ ยาย ในปี ค.ศ.1975 โดยบัคตินกล่าว่า
คา
ว่า Chronotope ที่แปลตรงตัวว่า เวลา-สถานที่ หากแต่ในความหมายทางด้ านวรรณคดีจะหมายถึง
สหสัมพันธ์ อันเป็ นแก่นสารแห่งความเกี่ยวพันระหว่างมิติสถานที่และมิติเวลา ตามที่ปรากฏใน
วรรณคดี และได้ แบ่งกาลเทศะในนวนิยายไว้ ด้วย อาทิเช่น กาลเทศะปราสาท กาลเทศะห้ องรับแขก
กาลเทศะธรณีประตู กาลเทศะบริเวณในเรื อน เป็ นต้ น18
บทที่5 อรรถศาสตร์ ของมิติสถานที่ โดยวัลยาได้ กล่าวว่า โมริ ยคั ใช้ ความรู้ สึกผูกพันกับ
แผ่นดินบ้ านเกิดทาให้ ธรรมชาติแคว้ นลองด์ครอบงาจิตใจและวิญญาณของตัวละครของเขา และใช้
องค์ประกอบต่างๆในมิติสถานที่เป็ นความเปรี ยบและเป็ นสัญลักษณ์ สื่อความรู้ สึกนึกคิดของตัว
ละครของเขา19
จากการศึกษาและวิเคราะห์มิติสถานที่ในนวนิยายของโมริ ยคั วัลยาได้ สรุปผลว่าการมอง
องค์ประกอบสถานที่ในนวนิยายทาให้ สามารถระบุแก่นเรื่ องพื ้นฐานของนวนิยายของโมริ ยคั ได้ ว่า
เป็ น Terroir อันเป็ นคาที่ครอบคลุมและเหมาะกับแก่นเรื่ องในนวนิยายของโมริ ยัค ซึ่งในภาษา
ฝรั่งเศสมีความหมายนัย 3 ความหมาย คือ
17
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 107
18
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 108-116
19
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 13
18
1. หมายถึงผืนดินที่เหมาะแก่การเพราะปลูก
2. ผืนดินอันเหมาะแก่การทาไร่องุ่น
3. ท้ องถิ่นซึง่ มีอิทธิพลต่อผู้คนในท้ องถิ่นนัน้ 20
ในการศึก ษาจัด จ าแนกและวิ เ คราะห์ มิ ติส ถานที่ ต ามแนวการศึก ษาของวัล ยาที่ ไ ด้ ใ ช้
แนวทางของบูเ นิร์ฟ ผู้วิจัยเล็ง เห็นว่าจะสามารถนามาใช้ เป็ นแนวทางศึกษาและวิเคราะห์ พืน้ ที่
ห้ องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ของโยชิโมะโตะ บะนะนะ เพื่อทราบถึงแก่นเรื่ องได้ อีกวิธีเช่นกัน
3.งำนวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
เนื่องจากวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น เป็ นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและมีคณ
ุ ค่าควรแก่การศึกษา
จึงมีผ้ ไู ด้ ศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่ องนี อ้ ย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่ได้ วิเคราะห์ในแง่มุม
ของสภาพสังคมและอัตลักษณ์ทางเพศหรื อทางเพศสภาวะหรื อ Gender โดยพูดถึงสัญลักษณ์ของ
ห้ องครัว และการกระทาของตัวละครเป็ นประเด็นในการวิเคราะห์ศกึ ษา ผู้วิจยั เล็งเห็นว่าตัวอย่าง
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องเหล่านี ้จะเป็ นแนวทางทาให้ งานวิจยั ของผู้จยั เองได้ พฒ
ั นาสานต่อจากงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้ องนี ้
ในงานวิ จัย เรื่ อ ง 吉本ばなな『キッチン』における言語行為について統合されるジ
ェンダー ของ ซะซะท์ สึกิ โยโกะ (笹月洋子) (2002) ได้ ศึกษาพฤติกรรมและคาพูดของตัวละครที่
แสดงถึง เพศสภาวะ โดยได้ ศึกษาจากตัวบท การกระทา และเหตุผลของกระทาของตั วละครว่า
นาเสนอภาพของเพศสภาวะชายหญิงไว้ อย่างไร โดยแบ่งหัวข้ อการศึกษาไว้ 4 ประเด็นดังนี ้
1. การอนุรักษ์ ไว้ ซึ่งเพศสภาวะในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น (『キッチン』におけるジェ
ンダーの保守性をめぐって)
ซึง่ ตัวละครชายหญิงก็ยงั คงทาหน้ าที่ตามที่สงั คมเห็นสมควรว่าเป็ น
หน้ าที่ของเพศนันต้
้ องกระทา
20
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิยายของ ฟร็องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. หน้ า 155
19
2. ความสมดุลของเพศสภาวะในการกระทาและคาพูดของตัวละคร (言語行為における
ジェンダー・バランスー 「申し出る」雄一と「誘う」みかげ)
โดยจะสามารถเห็น ได้ จาก
บทแรกที่ตวั ละครยูอิจิได้ เสนอให้ ความช่วยเหลือไปยังตัวละครมิกะเงะมากกว่า ซึ่งเมื่อในบทต่อมา
ตัวละครหญิงก็ได้ ให้ ความช่วยเหลือตัวละครชายมากกว่าในทางกลับกัน
3. การรวม การข้ ามขอบเขตและการกระทาตรงกันข้ ามของเพศสภาวะของการกระทาตัว
ละคร (ジェンダーの解体−越境と反転) โดยตัวอย่างนี ้สามารถดูได้ จากการสร้ างตัวละคร
เอะ
ริโกะ ที่เป็ นทังชายและหญิ
้
งในคนเดียวกัน แสดงว่าผู้เขียนไม่ต้องการให้ เกิดการแยกหน้ าที่ตามเพศ
ภาวะในเรื่ อง แต่ไม่วา่ จะชายหรื อหญิงก็สามารถทาหน้ าที่เดียวกันได้
4. การผสมผสานของเพศสภาวะ (ジェンダーの統合) ซึ่งสามารถดูจากชื่อเรื่ องก็สามารถ
ตีความได้ ว่าผู้เขียนต้ องการให้ สื่อว่าห้ องครัวเป็ นสถานที่ทาอาหาร โดยการทาอาหารก็ต้องมีการ
ผสมคลุกเคล้ ากันของส่วนผสม ซึ่งเหมือนกับการรวมทุกเพศสภาวะไว้ ในพื ้นที่ห้องครัวนี ้ จากการที่
ตัวละครชายและหญิงสามารถให้ และรับต่อกันและกันในพื ้นที่นี ้ได้ เท่าเทียมกัน 21ซึ่งในบทสรุปของ
ผลวิจยั 笹月洋子 ได้ กล่าวว่า
吉本氏の小説はいわゆる文学的な表現と今まさに使われている常的な表現を
微妙なバランスをとりなが組み合わせ、描かれている。このため、私たちは
容易に文学作品の奥深さに触れることができる。言い換えれば、ここでは文
学作品を童話のように読めるという実験的な手法が用いられているわけであ
る。また、本稿でしてきたように「キッチン」はジェンダーというテーマに
ついても斬新な感覚で描かれた実験的な作品であった。ここに紡がれたジェ
ンダーの中立、解体、対話という物語は、くしくも現時点のジェンダー研究
の流れと重なっている。そして、10年前に既にその地点にいた、吉本ばなな
氏のジェンダーをとらえる感性に驚かざるをえない。しかし、みかげ以降の
21
笹川洋子 (2002)、「吉本ばなな『キッチン』における言語行為について 統合されるジェンダー」、親和國文 第 37
号、p.86-111
20
吉本ばななの小説の主人公は「つぐみ」で学生、「白河夜船」では愛人とい
うように、職業を持たない女性が多くなってくる。エアロビクスのインスト
ラクター「とかげ」やOLの「弥生」、そして「みかげ」は吉本氏の小説では
数少ない経済的に自立する女性である。吉本氏は主人公の経済的な自立にあ
まり関心を持っていないように思えるが、ジェンダー・フリーの実現には経
済的自立が重要である。その意味では私たちの前に、吉本氏の創り出す、新
しい女性の主人公が登場することをひそかに願っている。(笹月洋子, 2002,
p.109)
สรุ ปจากข้ างต้ นคือ ตัวละครในนวนิยายของโยชิโมโตมักแสดงให้ เห็นถึงการไม่แบ่งแยก
บทบาทของเพศสภาวะ และการที่ตวั ละครส่วนใหญ่ของโยชิโมโตไม่มีอาชีพ แต่การเป็ น Gender
free หรื อก็คือ การเป็ นอิสระจากเพศสภาวะ ที่ไม่แยกแยะชายหญิงหรื อโดยไม่ได้ หมายถึงเพศที่สาม
สามารถทาให้ ตัวละครผู้หญิ ง ของโยะชิ โ มะโตะสามารถยื น หยัด และพึ่ง พาตนเองได้ ถึง แม้ ว่า
ห้ องครัวจะเป็ นสัญลักษณ์ของบทบาททางเพศแบบดังเดิ
้ มก็ตาม หากวิเคราะห์จากการกระทาและ
คาพูดของตัวละครในเรื่ อง คิ ทเช่น ก็ยงั มีส่วนที่สามารถทาให้ เห็นถึงการไม่คานึงถึงการรักษาไว้ ซึ่ง
บทบาททางเพศแบบดังเดิ
้ ม ก็สามารถทาให้ เห็นชัดเจนว่าโยะชิโมะโตะสามารถสอดแทรกแนวคิด
เรื่ อง Gender free ไว้ ในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น ได้ อย่างแยบยล แต่ผ้ วู ิจยั เล็งเห็นว่ายังมีสาเหตุที่
การกระทาของตัวละครที่ไม่ได้ หมายถึงการสมดุลทางเพศในพื ้นที่ห้องครัว ซึ่งผู้วิจยั คิดว่าสาเหตุนนั ้
คือการที่ตวั ละครต้ องการสร้ างความสัมพันธ์กบั ตัวละครอื่นในฐานะสมาชิกครอบครัว
นอกจากนี ้ จากงานวิจัย ของ อัจ ฉรา เหมวรางค์ กูล (2555) เรื่ อง ตัวละครเอกหญิ ง ใน
นวนิ ยายเรื ่อง คิ ทเช่น ที่ได้ มงุ่ เน้ นศึกษาและวิเคราะห์ลกั ษณะของตัวละครเอกหญิง ซะกุระอิ
มิ
กะเงะ ว่ามีพื ้นฐานชีวิตเป็ นอย่างไรและมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อพบกับความตายของคนใน
ครอบครัว โดยจะศึกษาจากความสัมพันธ์ กับตัวละครอื่น ๆ ในเรื่ อง โดยได้ วิเคราะห์ตวั ละครเอก
หญิงจากหัวข้ อต่าง ๆ ดังนี ้คือ 1.ความโดดเดี่ยวของตัวละคร 2.ความวิตกกังวลต่อชีวิตที่เหลืออยู่ตวั
คนเดี ย ว 3.การโหยหาครอบครั ว 4.ทรรศนะเกี่ ย วกับ ความตาย 5.ทรรศนะเกี่ ย วกับ ชี วิ ต โดย
ผลการวิจยั คือ ความตายของสมาชิกในครอบครัวทาให้ ตวั ละครเอกมีความสับสนและสิ ้นหวังใน
21
ชีวิต แต่อีกด้ านหนึ่ง ความตายก็เป็ นสิ่งที่ทาให้ ตวั ละครเอกตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตด้ วย อีกทัง้
พื ้นที่ห้องครัวก็เป็ นสิ่งที่ทาให้ ตวั ละครคลายการโหยหาครอบครัว กล่าวคือ เป็ นสิ่งที่แทนภาพของย่า
หรื อครอบครัวให้ แก่ตวั ละคร
นอกจากนี ้ ในงานวิจยั ของ อิจิโระ ซะกะอิ (酒井一郎) (1997) เรื่ อง『キッチン』のテクス
トで<家族>を考える ได้ ศึกษาเกี่ ยวกับลักษณะของครอบครัวในเรื่ องคิ ทเช่ นไว้ โดยได้ กล่าวถึง
ลักษณะของครอบครัวของมิกะเงะไว้ ว่า ครอบครัวของเธอไม่ได้ เป็ นครอบครัวเดี่ยวทัว่ ไป (核家族)
ที่มีสมาชิก 3ส่วนที่สมั พันธ์ กนั ในรูปแบบ พ่อแม่ลกู (父一母一子) แต่เป็ นแบบครอบครัวที่ประกอบ
ไปด้ วยสมาชิกที่มีความต่างอายุ 3 คน นั่นคือ ตายายหลาน (祖父一祖母一孫) จนกระทัง่ เหลือ
เพียง ยายหลานในท้ ายที่สดุ ซึง่ การที่ครอบครัวของมิกะเงะเป็ นเช่นนี ้จึงทาให้ เกิดระยะห่างขึ ้นได้ อัน
เป็ นเหตุให้ ตวั ละครมักเปรี ยบเทียบชีวิตครอบครัวของตนเองกับตัวละครอื่นในเรื่ อง แต่หากกลับรู้สึก
ว่าครอบครั วทะนะเบะนัน้ มี ลักษณะคล้ ายกับครอบครั วของตนจึง ทาให้ ตัวละครรู้ สึกโหยหาถึ ง
ครอบครัวที่จากไปของตนเอง22
จากผลการวิจัยทัง้ หมดที่ผ้ ูวิจยั ได้ ศึกษาพบว่างานวิจยั ก่อนหน้ าได้ พิจารณาจากลักษณะ
นิสยั ของตัวละคร และเรื่ องความสมดุลทางเพศและครอบครัวเสียส่วนใหญ่ ซึ่งผู้วิจยั คิดว่าการหา
ความหมายของพื ้นที่ห้องครัวก็เป็ นส่วนสาคัญที่จะทาให้ เข้ าใจแก่นเรื่ องมากขึ ้น เพราะผู้วิจยั เชื่อว่า
ผู้เขียนให้ ความสาคัญกับพื ้นที่ห้องครัวเพราะในเรื่ องพื ้นที่ห้องครัวมีอิทธิพลต่อตัวละครด้ วย
22
酒井一郎 (1997)、『キッチン』のテクストで〈家族〉を考える(II)、『聖カタリナ女子短期大学紀要』第 30 号、
p.15
22
บทที่ 3 ฉำกห้ องครั วที่ปรำกฏในเรื่ อง
ในบทนี ้ผู้วิจยั ได้ รวบรวมฉากห้ องครัวที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่ น ทังหมด
้
รวมทัง้
ฉากความนึกคิดและความรู้สึกของตัวละครหลักที่มีต่ อห้ องครัวด้ วย เพื่อจะได้ เห็นถึงภาพรวมของ
ห้ องครัวที่ปรากฏในเรื่ องสาหรับการนาไปวิเคราะห์ในบทต่อไป โดยจะใช้ แกนหลัก 5 ประการใน
การศึกษามิติสถานที่ของ โรลองด์ บูร์เนิฟ ที่ได้ กล่าวนาไว้ ในบทที่ 2 โดยจะแบ่งข้ อมูลของพื ้นที่
ห้ องครัวที่จะใช้ ศึกษาวิเคราะห์ไว้ 5 หัวข้ อดังนีค้ ือ 1.ที่ตงและบริ
ั้
เวณโดยรอบ 2.การนาเสนอ
ห้ องครัว 3.บทบาทของพืน้ ที่ห้องครัวกับตัวละคร 4.ธรรมชาติและความหมายของพืน้ ที่ห้องครั ว
5.ห้ องครัวในฐานะภาพลักษณ์ของโลกทัศน์ของผู้แต่ง
1. ที่ตงั ้ และบริเวณโดยรอบ
ในตัวบทฉากห้ องครั วอยู่ในสถานที่ ต่าง ๆ ซึ่ง ฉากของเรื่ องส่วนใหญ่ อยู่ในเมื องโตเกี ยว
ทังหมด
้
ซึ่งจากตัวบทในเรื่ องมี 3 สถานที่หลัก ๆ ที่เป็ นฉากที่ตงของห้
ั้
องครัวคือ บ้ านของมิกะเงะ
แมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะ และสถาบันสอนทาอาหาร
田辺家のあるそのマンションは、うちからちょうど中央公園をはさんだ反対
側にあった。公園を抜けていくと、夜の緑の匂いでむせかえるようだった。
濡れて光る小路が虹色に映る中を、ぱしゃぱしゃ歩いていった。(吉本バナナ,
2005, p.13)
แมนชั่ น ของครอบครั ว ทะนะเบะอยู่ ฝ ากตรงข้ ามของบ้ านฉั น และจากที่ นั่ น มี
สวนสาธารณะ ชูโอกัน้ กลางพอดี พอฉันเดินผ่านไปตามสวนสาธารณะ ฉันก็ร้ ู สึกถึง
ความชุ่มฉ่ าของกลิ่นต้ นไม้ ยามค่าคืน ฉันเดินเตาะแตะไปตามถนนเปี ยกชื น้ ที่เต็มไป
ด้ วยน ้าที่สะท้ อนแสงสีของรุ้งกินน ้า. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นจะเห็นว่าแมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะตังอยู
้ ่บริ เวณที่มีสวนสาธารณะชูโอใน
เมืองโตเกียว (東京) หรื อมหานครโตเกียว ซึง่ เป็ นเขตเมืองแต่ก็มีการสร้ างสวนสาธารณะมากมายขึ ้น
อีกทังยั
้ งเป็ นพื ้นที่มีประชากรอาศัยอยู่กว่าหนึ่งในสี่ของจานวนประชากรทังหมดของญี
้
่ปนุ่
ถือว่า
23
เป็ นมหานครที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สดุ ในโลก โดยผู้วิจยั ได้ สอบถามจากชาวญี่ปนผู
ุ่ ้
ที่อาศัยอยู่ในโตเกี ยว กล่าวว่า หากพูดถึง สวนสาธารณะแล้ ว ไม่ว่าจะใหญ่ หรื อเล็กก็ มักจะเป็ น
สถานที่ที่เต็มไปด้ วยผู้คนในช่วงเย็น หรื อทังวั
้ นในวันหยุด เป็ นสถานที่ที่พกั ผ่อนหย่อนใจ เต็มไปด้ วย
ต้ นไม้ และสีเขียวของธรรมชาติท่ามกลางเมืองใหญ่ ถึงแม้ จะเป็ นต้ นไม้ และธรรมชาติที่มนุษย์เป็ น
ผู้ส ร้ างก็ ต าม ซึ่ง สวนสาธารณะชูโ อนัน้ ค าว่าชูโอ ( 中央) แปลว่า ส่ว นกลาง ในประเทศญี่ ปุ่นมี
สวนสาธารณะชูโอหลายแห่ง ตังตามชื
้
่อเมือง หากในตัวบทบอกแต่เพียงว่าเป็ น สวนสาธารณะชูโอ
( 中央公園) ซึ่ ง หากดู ต ามเขตและชื่ อ ของสถานที่ จ ริ ง แล้ ว เป็ นไปได้ ว่ า อาจจะเป็ นบริ เ วณ
สวนสาธารณะชิ น จูกุชูโอ ( 新宿中央公園) ซึ่ง เป็ นสวนสาธารณะที่ กว้ า งใหญ่ มี ป ระชาชนและ
นักท่องเที่ยวนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจ รวมถึงมีสนามเด็กเล่นและสระว่ายน ้าสาหรับเด็ก ๆ มาวิ่งเล่น
และใช้ บริการได้ ส่วนสาหรับอาคารบ้ านเรื อนที่อยู่ในละแวกนี ้มักจะเป็ นตึกสูง มีทงอาคารส
ั้
านักงาน
ใหญ่ ๆ ที่สาคัญ อาทิเช่น อาคารศาลาว่าการมหานครโตเกียว หรื อ
Tokyo
Metropolitan Government Building Observatories (東京都庁舎展望室) อีกทังยั
้ งเป็ นย่านหนึ่ง
ในเศรษฐกิจหลักของโตเกียวอีกด้ วย อาทิเช่น ศูนย์การค้ า ร้ านขายเครื่ องใช้ ไฟฟ้า ร้ านขายสินค้ า
แฟชัน่ ร้ านอาหาร โรงแรมหรู และยังมีย่านคะบุกิโจ (Kabukicho) ซึ่งเป็ นแหล่งบันเทิงยามราตรี ที่
ใหญ่ที่สดุ ของญี่ปนุ่ เป็ นต้ น สาหรับที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็ นอพาร์ ตเม้ นต์ แมนชัน่ คอนโด และบ้ าน
บริ เวณชินจูกุ จะมีราคาที่สูง ซึ่งราคาเช่า หรื อซือ้ -ขายห้ องก็จะแพงไปตามความสูงของชัน้ ด้ วย 23
อีกทังจากการสั
้
มภาษณ์ชาวญี่ปนที
ุ่ ่อาศัยอยูใ่ นโตเกียวได้ กล่าวว่าหากมีครอบครัวและเด็กเล็ก ๆ จะ
ไม่ซื ้อบ้ านที่เป็ นหลังเดี่ยว ๆ และจะไม่เช่าหรื อซื ้ออพาร์ ตเม้ นต์หรื อแมนชัน่ ที่มีราคาสูงในย่านชินจูกุ
เพราะเศรษฐกิจของครอบครัวที่ต้องรับภาระอย่างหนักหากมีบตุ ร อีกทังคนที
้ ่อาศัยอยู่ในโตเกียวจะ
23
Tokyo Metropolitan. (ม.ป.ป.). History of Tokyo. ค้ นเมื่อ 8 มีนาคม 2559 จาก Tokyo Metropolitan Government:
http://www.metro.tokyo.jp/ENGLISH/ABOUT/HISTORY/history01.htm
24
ไม่นิยมซื ้อบ้ าน เพราะที่ดนิ มีราคาแพงและมีคา่ ครองชีพที่สงู ด้ วย ส่วนขนาดห้ องในอพาร์ ตเม้ นต์หรื อ
แมนชัน่ ที่มีราคาไม่สงู ก็จะมีพื ้นที่ไม่กว้ างขวางมากนัก
ベランダが見える大きな窓の前には、まるでジャングルのようにたくさんの
植物群が鉢やらプランターやらに植わって並んでいて、家中よく見ると花だ
らけだった。いたる所にある様々な花びんに季節の花々が飾られていた。
「……」板張りの床に敷かれた感じのいいマット、雄一のはいているスリッ
パの質の良さ--------必要最小限のよく使い込まれた台所用品がきちんと並んでか
かっている。シルバーストーンのフライパンと、ドイツ製皮むきはうちにも
あった。横着な祖母が、楽してするする皮がむけると喜んだものだ。 ( 吉本バ
ナナ, 2005, p.14-15)
ด้ านหน้ าของหน้ าต่างบานใหญ่ที่มองเห็นระเบียง มีสวนสวยราวกับป่ าที่ปลูกต้ นไม้
นานาชนิดไว้ ในกระถาง อีกทังในบ้
้ านยังเต็มไปด้ วยดอกไม้ ทุกมุมในบ้ านมีแจกัน ที่ปัก
ด้ วยดอกไม้ ตามฤดูกาลประดับตกแต่งไว้ อีกด้ วย. (......) เสื่อที่ให้ ความรู้สึกดีถกู ปูไว้ บน
พื ้นไม้ คุณภาพของรองเท้ าแตะสาหรับใส่อยู่บ้านของยูอิจิ หรื อจะเป็ นห้ องครัวที่เต็มไป
ด้ วยเครื่ องมือใช้ ส อยที่ ถูกเรี ยงไว้ อย่างดี กระทะที่ ทาจากหินเงิ น แม้ แต่เครื่ องปอก
เปลือกของเยอรมันในบ้ านหลังนี ้ คงทาให้ คณ
ุ ยายที่ขี ้เกียจสามารถปอกเปลือกผลไม้
ได้ อย่างเพลิดเพลินทีเดียว. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นจะเห็นได้ ว่าห้ องในแมนชั่นของยูอิจิ ค่อ นข้ างกว้ างพอที่ จ ะสามารถใช้ บริ เวณ
ระเบียงวางกระถางและปลูกดอกไม้ ไว้ จานวนมาก และมีพืน้ ที่มากพอสาหรับเก็บข้ าวของเครื่ อง
เครื่ องใช้ ภายในบ้ านโดยเฉพาะห้ องครัว อีกทังอุ
้ ปกรณ์ในห้ องครัว อย่างเช่น เครื่ องปอกเปลือกของ
เยอรมัน ก็ส ามารถบ่ง บอกได้ ว่าครอบครัวทานาเบ้ ค่อนข้ างเป็ นคนสมัยใหม่ใช้ สินค้ าที่ผลิตจาก
ประเทศตะวันตก ซึ่ง การที่ ห้องครั วแห่ง นีม้ ี เครื่ องอานวยความสะดวกและเครื่ องอิเล็กทรอนิกส์
มากมายก็บง่ บอกได้ วา่ ผู้อยูอ่ าศัยมีฐานะที่ดีพอสมควรและรักความสะดวกสบาย
その高くそびえるマンションを見上げたら彼の部屋がある十階はとても高く
て、きっと夜景がきれいに見えるんだろうなと私は思った。
(吉本バナナ,2005, p.13)
25
พอฉันเงยหน้ ามองไปยังตึกสูงตรงหน้ า ก็คิดว่าห้ องบนชันสิ
้ บของเขาสูงจัง จากตรงนัน้
คงจะมองเห็นทิวทัศน์ยามค่าคืนได้ สวยมากแน่ ๆ. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทที่ว่าครอบครัวทะนะเบะได้ อาศัยอยู่ในตึกสูง และห้ องของพวกเขาอยู่บนชัน10
้ ซึ่งค่าเช่า
หรื อซื ้อแมนชัน่ อาจจะค่อนข้ างสูงด้ วย ทาให้ เน้ นย ้าและเห็นได้ ชดั เจนว่าครอบครัวทะนะเบะอาศัย
อยูใ่ นสภาพแวดล้ อมที่คอ่ นข้ างดี และมีฐานะพอสมควรที่จะสามารถหาซื ้อและเช่าแมนชัน่ ลักษณะ
นี ้ในละแวกนี ้ได้ นอกจากนี ้ยังสามารถทาให้ เห็นถึงลักษณะที่อยู่อาศัยของมิกะเงะซึ่งอาศัยอยู่กับ
ยายว่า เธออาจจะอาศัยในอพาร์ ตเม้ นต์ที่ไม่สูงมากนัก หรื อหากสูงก็อยู่ในบริ เวณชั น้ ที่ไม่สูงเสีย
เท่าไหร่ จากการที่เธอบรรยายความรู้สกึ ตามตัวบทข้ างต้ นนี ้
私が帰宅すると、TV のある和室から祖母が出てきて、おかえりと言う。遅い
時はいつもケーキを買って帰った。外泊でもなんでも、言えば怒らない大ら
かな祖母だった。時にはコーヒーで、時には日本茶で、私たちは TV を観なが
らケーキを食べて、寝る前のひと時を過ごした。 (吉本バナナ, 2005, p.30)
ตอนที่ฉนั กลับถึงบ้ าน ยายจะออกมาจากห้ องดูทีวีซงึ่ ตกแต่งตามบ้ านแบบญี่ปนุ่ พร้ อม
พูดทักกลับมาว่า “กลับมาแล้ วหรื อจ๊ ะ” หากฉันกลับดึกก็มกั จะซื ้อเค้ กติดกลับมาด้ วย
หรื อถ้ าหากจะออกไปค้ างคืนนอกบ้ านฉันก็จะบอกก่อน ดังนันยายก็
้
จะไม่โกรธและไม่
เข้ มงวดกับฉันนัก เรามักใช้ เวลาเล็ก ๆ น้ อย ๆ อยู่ด้วยกันก่อนนอน ในตอนนันจะดื
้
่ม
กาแฟบ้ างดื่มชาบ้ าง พร้ อมกับดูทีวีและทานเค้ กไปด้ วย. (แปลโดยผู้วิจยั )
ในส่วนนีก้ ็จะเห็นความแตกต่างระหว่างแมนชั่นของครอบครัวทะนะเบะและบ้ านของมิกะเงะว่า
บ้ านของเธอจะเป็ นบ้ านแบบญี่ปนซึ
ุ่ ่งมักจะปูพื ้นด้ วยเสื่อทะตะมิ (畳) อีกทังไม่
้ นิยมประดับตกแต่ง
บ้ านด้ วยเครื่ องเรื อนจาพวก โซฟา โต๊ ะมีขาสูง และเก้ าอี ้มีขาสูง เป็ นต้ น อีกทังจะเห็
้
นได้ เพิ่มเติมจาก
ตอนครัง้ ที่มิกะเงะไปเยี่ยมบ้ านทะนะเบะเป็ นครัง้ แรกและในตอนนันเธอได้
้
เห็นโซฟาขนาดใหญ่จึง
รู้สึกประหลาดใจและตื่นเต้ น (吉本バナナ, 2005, p.13) ซึ่งจากลักษณะบ้ านของมิกะเงะนันท
้ า
ให้ เห็นถึงสิ่งแวดล้ อมที่เธอเติบโตมา ตัวบ้ านไม่ได้ มีความหรู หรา มีฐานะที่พออยู่พอใช้ สาหรับสอง
26
ยายหลานจะสามารถใช้ เพื่อยังชีพได้ อีกทังเป็
้ นสถานที่ที่เธอผูกพันในฐานะบ้ านที่อยู่ตงแต่
ั ้ เกิดและ
ถูกเลี ้ยงดูมา ซึง่ เธอยังได้ พดู ไว้ อีกว่าบ้ านหลังนี ้ไม่เคยปรับเปลี่ยนหรื อตกแต่งเพิ่มเติมหากยังคงเป็ น
เหมือนสมัยเมื่อเธอยังเล็ก ๆ (吉本バナナ, 2005, p.30)
สาหรับห้ องครัวที่สถาบันสอนทาอาหารอันเป็ นที่ทางานของมิกะเงะ ก็มีลักษณะเป็ นตึก
เช่นกัน ซึ่ง ภายในส านักงานและห้ องครั วมี ลัก ษณะกว้ า งขวางแตกต่า งจากห้ อ งครั วที่ บ้านของ
มิกะเงะเองรวมถึงแมนชัน่ ของบ้ านทะนะเบะด้ วย
職場にたどり着く。大きなビルのワンフロアー部屋が、その先生のオフィス
で、スクール用の調理室と、写真のスタジオがある。「……」
(
吉本バナ
ナ,2005, p.93)
ฉั น เดิ น ทางไปยัง ที่ ท างาน สถาบัน นั น้ อยู่ ใ นตึ ก ใหญ่ ที่ กิ น พื น้ ที่ ทั่ว ทัง้ ชัน้ ในนั น้
ประกอบด้ วยห้ องสานัก งานของอาจารย์ ห้ องปฏิบตั ิการทาอาหาร และห้ องสตูดิโอ
สาหรับถ่ายภาพ. (......) (แปลโดยผู้วิจยั )
陽ざしがたくさん入る窓の大きなその部屋には、オーブンとレンジとガス台
のついた大型のテーブルがずらりと並んでいて、家庭科室を思い出させる。
「…… 」 (吉本バナナ,2005, p.96)
ห้ องที่มีหน้ าต่างบานใหญ่รับแสงแดด โต๊ ะขนาดใหญ่ที่มีเตาอบ เตาไมโครเวฟ และหัว
เตาแก๊ สวางเรี ยงรายอยู่นนั ้ ทาให้ ฉั นนึกถึงห้ องครัวในวิชาคหกรรม. (......) (แปลโดย
ผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นทาให้ เห็นว่าห้ องครัวในส่วนนี ้เป็ นส่วนที่มิกะเงะเองไม่ได้ ค้ นุ เคยในฐานะบ้ านหรื อที่
อยู่อาศัย ห้ องครัวที่นี่มีลกั ษณะของสถาบันสอนทาอาหารที่คอ่ นข้ างมีชื่อเสียง ไม่ว่าจะเป็ นห้ องที่มี
อุปกรณ์เครื่ องครัวที่ครบครัน ความกว้ างขวางของพื ้นที่ และนอกจากจะมีเพียงห้ องทาอาหารยังมี
ห้ องสตูดโิ อถ่ายภาพด้ วย
จากการรวบรวมข้ อมูลของพื ้นที่ห้องครัวทังหมดข้
้
างต้ น จะทาให้ เห็นถึงความเหมือนและ
แตกต่างกันของพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ อง อีกทังเห็
้ นถึงลักษณะและบรรยากาศโดยรอบจากตัวสถานที่
จริงนอกบทที่นามาเทียบกับในตัวบทว่าคือสถานที่ใด โดยจากตัวบทผู้เขียนได้ บอกพื ้นที่ของฉากใน
27
บริ เวณที่กว้ าง คือไม่ได้ บอกชื่อเฉพาะของสถานที่ชัดเจน อาทิเช่น ชื่อแมนชั่น ชื่อตึก หรื อชื่อเขต
ทาให้ ผ้ วู ิจยั ได้ ใช้ วิธีสงั เกตจากบทบรรยายลักษณะของพื ้นที่บ ริ เวณนันว่
้ าน่าจะตังอยู
้ ่ในบริ เวณพื ้นที่
ใด ซึ่ง การศึกษาพื น้ ที่ และบริ เ วณที่ ตงั ้ โดยรอบจะทาให้ สามารถเห็นภาพรวมและทาให้ เห็นการ
กระทาของตัวละครในสถานการณ์ นัน้ ๆ ต่อไป
2. กำรนำเสนอห้ องครัว
ในส่วนนี ้เป็ นการศึกษาว่า ผู้เขียนได้ นาเสนอภาพของห้ องครัวในเรื่ องไว้ อย่า งไร โดยศึกษา
จากคาพรรณนาโวหารในรู ปแบบต่าง ๆ รวมถึง การใช้ คาใช้ ภ าษา และการจัดองค์ประกอบของ
สถานที่ ซึ่งให้ อารมณ์ เหมือนการใช้ เทคนิคของจิตรกรในการวาดภาพได้ แก่ การจัดองค์ประกอบ
มุมมอง มิติ โทนสี จากพื ้นที่ห้องครัวที่ปรากฏในเรื่ องดังนี ้
2.1 พืน้ ที่ห้องครัวในบ้ ำนของมิกะเงะ
พืน้ ที่ห้องครัวนีต้ งอยู
ั ้ ่ในบ้ านของมิกะเงะตัวละครหลักหญิ ง อันเป็ นสถานที่ที่ตวั ละครได้
เติบโตและถูกเลี ้ยงดูมาจากตายายภายหลังจากที่พ่อแม่ของเธอเสียชีวิตไปตังแต่
้ ท่านยังหนุ่มสาว
รวมทังเป็
้ นพื ้นที่ที่บรรจุไปด้ วยความทรงจามากมายระหว่างตัวละครกับตายาย โดยเฉพาะเมื่อตาได้
เสียชีวิตจากไปตัวละครได้ อาศัยอยู่ในบ้ านหลังนี ้กับยายเพียงสองคน โดยผู้เขียนได้ สื่ออารมณ์และ
ความรู้สกึ ของตัวละครที่มีตอ่ พื ้นที่นี ้แตกต่างกันในแต่ละสถานการณ์ที่เกิดขึ ้น 3ช่วงดังนี ้
1.) ช่วงที่ยายยังมีชีวิตอยู่ มิกะเงะได้ อาศัยอยู่กบั ยายมาตัง้ แต่เด็ก ๆ อารมณ์และความรู้สึก
ของตัวละครจึงเกี่ยวพันกับความทรงจาที่มีร่วมกับยาย โดยผู้เขียนได้ บรรยายเหตุการณ์และกิจกรรม
ในอดีตที่ตวั ละครทาร่ วมกับยายเสมอ ๆ อาทิเช่น การได้ ใช้ เวลานัง่ ดูทีวีด้วยกันกับยายในห้ องเสื่อ
ทะตะมิ บางครัง้ ก็กินเค้ กและดื่มชาดื่มกาแฟด้ วยกัน รวมถึงตอนที่ได้ ใช้ เวลาพูดคุยกันในทุก ๆ เรื่ อง
ซึง่ สิ่งเหล่านันได้
้ ทาให้ เธอกับยายรักและสนิทสนมกัน
「……」切り花が好きだった祖母は、いつも台所に花を絶やさなかったの
で、週に二回くらいは花屋に通っていた。「……」 (吉本バナナ, 2005, p.12)
(......) ยายเป็ นคนที่ชอบตัดจัดแต่งดอกไม้ ท่านไม่เคยปล่อยให้ ดอกไม้ ในห้ องครัวเหี่ยว
เฉียวเลย ดังนันท่
้ านจึงชอบที่จะแวะไปร้ านดอกไม้ อาทิตย์ละสองครัง้ . (.....) (แปลโดย
ผู้วิจยั )
28
จากตัวบทข้ างต้ นทาให้ เห็นว่า ตอนที่ยายยังมีชีวิตอยู่เมื่อใดที่ตวั ละครเข้ าไปในห้ องครัวก็มกั จะเห็น
ดอกไม้ ที่ยายเปลี่ยนไว้ เสมอ ๆ อาทิตย์ละสองครัง้ ทาให้ ห้องครัวมี ชีวิตชีวา โดยผู้เขียนใช้ เทคนิคการ
นาสิ่งมีชีวิตมาสร้ างบรรยากาศของฉากเพื่อเน้ นย ้าถึงความสุขในช่วงเวลาที่มียายอยู่ในพื ้นที่ด้วยกัน
กับตัวละคร
2.) ช่ ว งที่ ย ายเสี ย ชี วิ ต และงานศพของยาย ในสถานการณ์ ช่ ว งนี ผ้ ้ ูเ ขี ย นได้ ส ร้ างโทน
บรรยากาศของเรื่ องให้ แตกต่างกับช่วงที่ยายของตัวละครยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งเป็ นการสร้ างบรรยากาศให้
เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในเรื่ อง
家族という、確かにあったものが年月の中でひとりひとり減っていて、自分
がひとりここにいるのだと、ふと思い出すと目の前にあるものがすべて、う
そに見えてくる。生まれ育った部屋で、こんなにちゃんと時間が過ぎて、私
だけがいるなんて、驚きだ。まるで SF だ。宇宙の闇だ。(吉本バナナ,
2005,
p.8)
ในช่วงวันเดือนปี ที่ผ่านไปการที่สมาชิกในครอบครัวค่อย ๆ หายไปทีละคน และเหลือ
ฉันเพียงคนเดียวลาพังในห้ องที่ฉันเกิดและเติบโตมานัน้ ทุกสิ่งทุกอย่างมันนานจนคิด
ว่าสิ่งที่อยู่ตรงหน้ านีอ้ ย่างกับเรื่ องโกหก มันทาให้ ฉันรู้ สึกตกใจจริ ง ๆ ราวกับว่าเป็ น
นิยายวิทยาศาสตร์ และความมืดมิดของห้ วงจักรวาล. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นผู้วิจยั สังเกตเห็นว่า ผู้เขียนได้ สร้ างจุดเด่นของบรรยากาศในพื ้นที่ขึ ้นมาโดยการใช้
คาเพื่อสื่อบรรยากาศถึงความรู้สึกที่โศกเศร้ าและรู้ สึกเดียวดายเมื่อยายเสียชีวิตจากไปจึงทาให้ ตวั
ละครต้ องอยูเ่ พียงลาพังในพื ้นที่นี ้ ซึง่ ยังมีอีกมากมายในตัวบทของสถานการณ์ช่วงนี ้ อาทิเช่น งาน
ศพ (葬式), ตาย (死ぬ), บ้ านที่เคยอยูก่ ว้ างเกินไป (広すぎて)และแพงเกินไป ( 高すぎて) สาหรับ
การอยูเ่ พียงคนเดียว, การเหลือตัวคนเดียว/ลาพัง (ひとり), ความรู้สึกเสียใจ (悲しみ), อาการนอน
ไม่หลับ (寝苦しい), ความมืดของจักรวาล (宇宙の闇), การหมดหวังสิ ้นหวัง (絶望), เจ็บปวด (痛
く), ร่ างกายไม่แข็งแรง (元気がない), อาการที่ ไม่สามารถร้ องไห้ ออกมาได้ (涙があんまり出な
い), สับสนงงงวย (ぼうっとする), ความเหงา (淋しさ), ความเงี ยบ (静けさ), ความมืดของห้ วง
เวลา (時の闇), โดดเดี่ยวเดียวดาย (孤独), มืด (暗い), ฤดูใบไม้ ผลิที่หม่นหมอง (煙った春) เป็ นต้ น
葬式がすんでから三日は、ぼうっとしていた。涙があんまり出ない飽和した
悲しみにともなう、柔かな眠けをそっとひきずっていって、しんと光る台所
にふとんを敷いた。ライナスのように毛布にくるまって眠る。冷蔵庫のぶー
んという音が、私を孤独な思考から守った。そこでは、結構安らかに長い夜
29
が行き、朝が来てくれた。ただ星の下で眠りたかった。朝の光で目覚めたか
った。 (吉本バナナ, 2005, p.8)
งานศพของยายผ่านไปสามวันแล้ ว ฉันยังคงอยู่ในอาการสับสนงงงวย จมอยู่กบั ความ
เศร้ าโศกจนไม่สามารถร้ องไห้ ออกมาได้ ฉันลากฟูกที่นอนเข้ ามาปูในห้ องครัวที่มีแสง
สลัว ๆ ห่อตัวในผ้ าห่มเหมือนดักแด้ แล้ วผล็อยหลับไป เสียงฮึมฮัมของตู้เย็นทาให้ ฉัน
หยุดคิดถึงความโดดเดี่ยว ณ ที่นนั่ ความยาวนานของค่าคืนที่เงียบงันเคลื่อนออกไป
และต้ อนรับการเดินทางมาของเช้ าวันใหม่ ฉันเพียงต้ องการนอนหลับภายใต้ หมู่ดาว
และตื่นขึ ้นมาท่ามกลางแสงสว่างของยามเช้ า. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากข้ างต้ นยังมีคาที่ให้ ความหมายตรงกันข้ ามกับคาที่ สื่ออารมณ์เศร้ าของตัวละครหรื อ บรรยากาศ
อันมืดมนในพืน้ ที่เพื่อ ช่วยเน้ นยา้ และเสริ ม อารมณ์ ที่ทาให้ ตวั ละครตกอยู่ในความเศร้ าโศกอย่าง
แท้ จริง แต่อีกด้ านตัวละครก็ต้องการความหวังและแสงสว่างในชีวิตเพื่อหลุดพ้ นจากความโศกเศร้ า
และโดดเดี่ยวนี ้ อาทิเช่น ดวงดาว (星), แสงสว่างยามเช้ า (朝の光), เสียงฮึมฮัมของตู้เย็น (冷蔵庫
のブーンという音) ซึ่งแสดงให้ เห็น ว่า บ้ านที่ มี เพี ย งตัวละครนัน้ เงี ยบจนกระทั่งได้ ยิน แม้ แต่เ สี ย ง
ของตู้เย็น ที่ตวั ละครไม่เคยได้ ยินชัดเช่นนี ้ในตอนที่มียายอยูด่ ้ วย
3.) ช่วงที่ย้อนกลับมาขนย้ ายของที่บ้านหลังย้ ายออกไป เป็ นช่วงที่ตวั ละครยูอิจิได้ ชวนมิ
กะเงะไปพักที่แมนชัน่ ของเขากับแม่ ซึง่ ในช่วงนันมิ
้ กะเงะต้ องกลับไปทาความสะอาดห้ องในบ้ านเก่า
ทัง้ หมดก่อนที่จะย้ ายออกไปจริ ง ๆ โดยอารมณ์ และความรู้ สึกของตัวละครมิกะเงะที่มีต่อพืน้ ที่
ห้ องครัวในตอนนี ้ คือการเปลี่ยนเป็ นสถานที่ที่จะกลายเป็ นความทรงจาและเพื่อเริ่ มต้ นใหม่ เพราะ
ห้ องครัวที่เคยมีชีวิตชีวาในวันคืนที่มียายอยูจ่ ะไม่มีอีกต่อไปแล้ ว
私は、夢を見た。今日、引き払ったあの部屋の台所の流しを私はみがいてい
た。なにがなつかしいって、床のきみどり色が……住んでいる時は大嫌いだ
ったその色が離れてみたらものすごく愛しかった。(吉本バナナ,
2005, p.51-
52)
สิ่งที่ฉันเห็นในความฝั น ฉันกาลังขัดถูอ่างล้ างจานที่ครัวในบ้ านที่ต้องย้ ายออกไปวันนี ้
และสิ่งที่ทาให้ ฉนั รู้สกึ คิดถึงคือพื ้นสีเหลืองเขียวนัน่ ......ตอนที่ยงั อยู่ที่นนั่ ฉันเกลียดพื ้นสี
นันเป็
้ นที่สดุ แต่พอจากมาฉันกลับรู้สกึ รักและคิดถึงมันมากที่สดุ . (แปลโดยผู้วิจยั )
30
จากตัวบทข้ างต้ นคือตอนที่มิกะเงะฝั นถึงห้ องครัวที่บ้านเก่าหลังจากกลับมาจากการขนย้ าย และทา
ความสะอาดบ้ านเก่า ผู้เขียนสร้ างความฝั นเพื่อบ่งบอกจิตใต้ สานึกของตัวละครว่า ครัง้ เมื่อเธอยัง
อยู่ที่นี่ ถึงแม้ ว่าพื ้นที่นี ้จะเต็มไปด้ วยความทรงจาที่ทาให้ เธอมีช่วงเวลาที่ยากลาบากหรื อไม่ชอบก็
ตาม แต่เธอก็ยงั คงมีความสุขกับช่วงเวลาเหล่านัน้ รวมทังเธอมี
้
ความผูกพันกับพื ้นที่ห้องครัวมาก
ถึงแม้ จากมาเธอก็ยงั คงจดจามัน อีกทังจากการที
้
่ผ้ เู ขียนได้ ใช้ คาว่า ขัดถู (みがく) ซึ่งจะเห็นได้ ว่าไม่
เพียงในฝั นเท่านัน้ แต่ครัง้ ที่เธอกลับมาที่บ้านเพื่อเก็บของครัง้ แรกเธอก็ได้ ขดั ถูทาความสะอาดตู้เย็น
เช่นกัน (吉本バナナ, 2005, p.32) ก็สามารถบ่งบอกได้ อีกว่าเธอต้ องการเริ่ มต้ นใหม่โดยอยากขจัด
ความทุกข์และโศกเศร้ าทังหมดที
้
่เคยมีออกไป
翌日は、もとの家を正式に引き払う日だった。やっと、すべてを片づけた。
のろかった。よく晴れた午後で、風も雲もなく、金色の甘い陽ざしがなにも
ない私の故郷であった部屋をすかしていた。(吉本バナナ, 2005, p.46)
วันต่อมาเป็ นวันที่ต้องย้ ายออกจากบ้ านเก่าอย่างเป็ นทางการเสียที ในที่สุดฉันก็เก็บ
ข้ าวของทังหมดเสร็
้
จสิ ้น นัน่ ทาให้ ฉนั ถึงกับอ่อนแรงทีเดียว ในบ่ายที่แจ่มใส ไม่มีทงลม
ั้
และเมฆนัน้ แสงแดดสีทองอันอ่อนหวานได้ ส่องกระทบกับห้ องอันว่างเปล่าในบ้ านเกิด
ที่ฉนั เคยอยู.่ (แปลโดยผู้วิจยั )
อีกทังจากตั
้
วบทข้ างต้ นผู้เขียนได้ สร้ างอารมณ์ให้ ตวั ละครและสถานที่ โดยการใช้ คาและโวหารการ
พรรณนาเพื่อแสดงถึงการเน้ นยา้ ความเปลี่ยนแปลงในสถานะบ้ านที่เคยอยู่และต้ องย้ ายออกไป
หรื อการที่จะไม่ได้ เป็ นเจ้ าของสถานที่นี ้อีกต่อไป อาทิเช่น ใช้ คาว่า บ้ านเก่า (もとの家), บ้ านเกิด
( 故郷), คนแปลกหน้ า ( 別人の顔), การย่องเข้ าไปในบ้ านที่ เ คยอยู่, ส านวนพูดเมื่ อ จะเข้ า บ้ า น
เปลี่ยนไปจากคาว่า กลับมาแล้ ว (ただいま) กลายเป็ น สานวนขออนุญาตเพื่อเข้ าบ้ านผู้อื่น (おじ
ゃまします) รวมทังยั
้ งใช้ คาเพื่อให้ สถานที่เหมือนสิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึกและเคลื่อนไหวได้ เช่น ทุก
สิ่งที่เคยคุ้นเบือนหน้ าหนี , บ้ านมีความเงียบและมืดมัว , ไม่ได้ ยินแม้ แต่เสียงทอดถอนใจ และการ
เปรี ยบให้ สถานที่มีชีวิต โดยเปรี ยบว่าเมื่อยายตายแล้ วบ้ านหลังนีก้ ็ได้ ตายไปด้ วย (吉本バナナ,
2005, p.32) เป็ นต้ น
すべて片づいた私の部屋に射す光、そこには前、住み慣れた家の匂いがし
た。台所の窓。友人の笑顔、宗太郎の横顔越しに見える大学の庭の鮮やかな
緑、夜遅くにかける電話の向こうの祖母の声、寒い朝のふとん、廊下に響く
祖母のスリッパの声、カーテンの色……畳……柱時計。そのすべて。もう、
そこにいられなくなったことのすべて。 (吉本バナナ, 2005, p.46-47)
31
แสงแดดส่องสว่างทัว่ ห้ องที่ว่างเปล่านี ้ กลิ่นของบ้ านที่เคยอยู่ที่เคยคุ้นนันก็
้ ได้ ฟ้ งขึ
ุ ้นมา
อีกครัง้ หน้ าต่างของห้ องครัว ใบหน้ าเปื อ้ นยิ ้มของเพื่อน ๆ สีเขียวสดชื่นของสวนใน
มหาลัยที่มองเห็นใบหน้ าด้ านข้ างของโซทะโร เสียงของยายในยามที่ฉันโทรมากลางดึก
ฟูกที่นอนในยามเช้ าที่หนาวเย็น เสียงรองเท้ าของยายยามเดินตามโถงทางเดิน สีของ
ผ้ าม่าน......เสื่อทะตะมิ......นาฬิกาแขวน ทังหมดนี
้
้ ไม่มีอีกแล้ ว. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นยังใช้ คาเพื่อนาเสนอช่วงเวลาในอดีตที่ตวั ละครเคยอยู่และมีความทรงจาในอดีตที่
มีความสุข ด้ วยการใช้ คาที่บอกโทนแสงที่อบอุ่นและสว่าง เช่น แสงแดดที่ส่องสว่าง (射す光) เป็ น
ต้ น ไม่เพียงแต่คาและสานวนเหล่านี ้ที่ทาให้ พื ้นที่ดเู ปลี่ยนไป ผู้เขียนยังใช้ คาว่ า ตึกที่ห่างไกลออกไป
และการยืนส่งเพื่อมองรถบัสที่ไกลออกไป (吉本バナナ, 2005, p.50)เป็ นการระบุว่า สถานที่นี ้จะ
กลายเป็ นอดีตและความทรงจาของตัวละครนับแต่นี ้ไป นอกจากนี ้ระหว่างที่มิกะเงะลงจากรถบัส
แล้ วเดินต่อเพื่อกลับไปยังแมนชัน่ ของบ้ านทะนะเบะ เธอได้ ร้องไห้ ออกมากับ ค ว า ม เ ศ ร้ า โ ศ ก ทุ ก
อย่างที่เกิดขึ ้นในบ้ านเก่าหลังนัน้ จนกระทัง่ เมื่ อเงยหน้ าขึ ้นมาเธอก็พบว่าเธอเห็นไอน ้าสีขาวลอยอยู่
ในความมืด บานหน้ าต่างนัน้ มีแสงสว่างอยู่ มันมีเสียงของหม้ อน ้า เสียงเครื่ องครัวดังกระทบกัน
สิ่งนันคื
้ อห้ องครัว พอคิดถึงสิ่งนันฉั
้ บพลันเธอก็ร้ ูสึกร่าเริ งขึ ้นมา (吉本バナナ, 2005, p.50) ซึ่งตรง
จุดนี ้ทาให้ เห็นว่าผู้เขียนได้ สร้ างบรรยากาศของห้ องครัวที่ตวั ละครรู้สึกผูกพันและมีผลต่อจิตใจของ
ตัวละครขึ ้น เป็ นการตอกย ้าอีกว่าตัวละครต้ องการเริ่ มต้ นใหม่อีกครัง้ ในสถานที่ที่มีความสุขและลืม
สิ่งที่ทกุ ข์ใจในอดีตไปเสีย
จากข้ างต้ นการนาเสนอห้ องครัวในส่วนบ้ านของตัวละครมิกะเงะทาให้ เห็นว่ าผู้เขียนได้ ใช้
คาแสดงโทนบรรยากาศของฉาก เพื่อสื่ออารมณ์ ความรู้ สึกของตัวละครในช่วงเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่
เกิ ด ขึน้ ในบ้ า นเก่ า ของตัว ละครอัน เป็ นพื น้ ที่ ที่ ห้ อ งครั ว ตัง้ อยู่ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น การเปลี่ ย นแปลง
ท่วงทานองของโครงเรื่ องอย่างเป็ นลาดับ ตังแต่
้ พื ้นที่นี ้เป็ นสถานที่ตวั ละครเติบโตมากับยาย มีความ
ทรงจ าดี ๆ และมี ความสุข จนกระทั่งเมื่อยายได้ เสี ยชี วิตจากไปจึง ทาให้ บ้านที่มี พื น้ ที่ห้องครั วนี ้
กลายเป็ นอดีตและตัวละครต้ องโยกย้ ายออกจากพื ้นที่นี ้ รวมทังต้
้ องการที่จะเริ่ มต้ นใหม่ในพื ้นที่ที่จะ
ทาให้ เธอมีความสุขดังเช่นก่อนอีกครัง้ ซึ่งห้ องครัวก็เป็ นพื ้นที่ที่เธอมีความผูกพันและอุ่นใจเมื่ออยู่ใน
พื ้นที่นนั ้
32
2.2 พืน้ ที่ห้องครัวในแมนชั่นของครอบครัวทะนะเบะ
สาหรับพื ้นที่ห้องครัวนีต้ งอยู
ั ้ ่ในแมนชั่นของครอบครัวทะนะเบะ อันเป็ นสถานที่ที่ตวั ละคร
มิกะเงะได้ เข้ ามาอาศัยอยู่ระหว่างหาที่อยู่ใหม่ด้วยการชักชวนจากยูอิจิ ซึ่งผู้วิจยั ได้ สังเกตเห็นว่า
ผู้เขียนได้ ใช้ คาใช้ ภาษาเพื่อสื่อให้ เห็นถึงอารมณ์ความแตกต่างในแต่ละช่วงเหตุการณ์ ของตั ว ละคร
ในระหว่างที่อยู่ที่แมนชัน่ แห่งนี ้ รวมถึงความทรงจาต่อเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ร่วมกับครอบครัวทะนะเบะ
ใน 2 ช่วงเหตุการณ์ดงั ต่อไปนี ้
1.) ช่วงที่ย้ายมาอาศัยอยูก่ บั ครอบครัวทะนะเบะแรก ๆ ซึง่ ในบ้ านประกอบไปด้ วยเอะริ โกะผู้
เป็ นแม่และยูอิจิผ้ เู ป็ นลูกชาย โดยเริ่ มจากยูอิจิเด็กทางานพิเศษในร้ านขายดอกไม้ ที่ร้ ูจกั กับยายของ
มิกะเงะได้ ชวนเธอไปเยี่ยมแมนชัน่ ของเขากับแม่หลังงานศพยายเสร็ จสิ ้น ซึ่ง ในระหว่างนี ้มิกะเงะอยู่
ในช่วงระหว่างหาที่อยูใ่ หม่ที่ถกู และมีขนาดพอเหมาะสาหรับอยู่คนเดียว ในขณะที่มิกะเงะยังคงรู้สึก
ตกใจกับการเสียชีวิตของยาย อีกทังยั
้ งรู้สกึ เหนื่อยล้ าและเป็ นกังวลสาหรับการย้ ายที่อยู่ใหม่นนั ้ ยูอิจิ
ก็ได้ แวะมาหาเธอที่บ้านในวันหนึ่งซึ่งผู้เขี ยนได้ ใช้ คาเพื่อสื่อว่าคนแปลกหน้ าอย่างยูอิจิ ที่เธอมักจะ
เคยได้ ยินเรื่ องราวของเขาจากปากของยาย หรื อแม้ กระทัง่ การที่ยอู ิจิเป็ นเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัยแต่
เธอก็ไม่ร้ ูจกั เขาเลยนัน้ (吉本バナナ, 2005, p.9) ช่วงเวลานี ้เขากลับเป็ นเหมือนปาฏิหาริ ย์ อาทิเช่น
คาว่า ปาฏิหาริย์ (奇跡), ความหวังที่รอคอย (待ち望む) เป็ นต้ น
小さな蛍光灯に照らされて、しんと出番を待つ食器類、光るグラス。「…
…」(吉本バナナ, 2005, p.15)
แสงเล็ก ๆ ของหลอดไฟนีออนที่สอ่ งสว่าง ทาให้ เห็นเหล่าอุปกรณ์เครื่ องครัวที่จดั วางรอ
ไว้ อย่างสงบ และแก้ วน ้าที่สอ่ งประกายแวววาว. (......) (แปลโดยผู้วิจยั )
ซึง่ จากตัวบทข้ างต้ นทาให้ เห็นว่าห้ องครัวเป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ มิกะเงะไว้ ใจและรู้สึกอุ่นใจถึงแม้ จะอยู่ใน
พื ้นที่ของคนแปลกหน้ า (見知らぬ人) ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวเป็ นพื ้นที่ที่มีอิทธิพลต่อตัวละครโดย มี คา
ที่ใช้ นาเสนอโทนของห้ องครัวจาพวกแสง (光) ไว้ มาก อาทิเช่น แสงเจิดจ้ าเจิดจรัส (きらきら 輝き)
เป็ นต้ น นอกจากนีผ้ ้ ูเขียนยังได้ สร้ างห้ องครัวเพื่อทาให้ มิกะเงะเริ่ มผูกพันกับตัวละครอย่าง ยูอิจิ
และเอะริโกะด้ วย ดังที่ได้ บรรยายไว้ วา่ ครัง้ เมื่อฤดูร้อนเธอได้ ฝึกทาอาหารอย่างจริ งจังและเพราะการ
ทาอาหารของเธอทาให้ เธอมีฤดูร้อนที่ดีจริ ง ๆ เพราะทาให้ เธอและแม่ลกู ทะนะเบะมีเวลามาอยู่ร่วม
รับประทานอาหารด้ วยกันบ่อย ๆ (吉本バナナ, 2005, p.81)
33
真昼、春らしい陽気で、外からはマンションの庭で騒ぐ子供たちの声が聞こ
える。窓辺の草木は柔らかな陽ざしに包まれて鮮やかなみどりに輝き、はる
かに淡い空に薄い雲がゆっくりと流れてゆく。のんびりとした、あたたかい
昼だった。 (吉本バナナ, 2005, p.26)
เที่ยงวันของฤดูใบไม้ ผลิที่อากาศสดใส ในสวนข้ างนอกแมนชันนันได้
้ ยินเสียงเด็ก ๆ
เล่นกันครึ กครื น้ เหล่าต้ นไม้ นานาชนิดที่อยู่แถวหน้ าต่างถูกโอบอุ้มด้ วยแสงสว่างอัน
เจิดจ้ า ปุยเมฆที่ลอ่ งลอยบนท้ องฟ้าสีจาง ๆ ที่เห็นไกล ๆ ช่างเป็ นยามเที่ยงที่อบอุ่นและ
ให้ ความรู้สกึ สบายเสียจริง. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นนอกจากคาที่ใช้ นาเสนอภาพห้ องครัวแล้ ว สิ่งแวดล้ อมบริ เวณรอบห้ องครัวก็มีคา
จาพวกแสงและความสว่าง รวมทัง้ ใช้ ธรรมชาติเพื่อบ่งบอกความมีชีวิตชีวาทาให้ ฉากในตอนนีม้ ี
บรรยากาศที่สดใสขึ ้นด้ วย อาทิเช่น ในแมนชัน่ ของบ้ านทะนะเบะ ตรงริ มระเบียงก็จะปลูกต้ นไม้ ไว้
หลายหลาก ในบ้ านก็ประดับด้ วยแจกันที่มีดอกไม้ ตามฤดูกาลปั กไว้ (吉本バナナ, 2005, p.14)
その台所と同じくらいに、田辺家のソファーを私は愛した。そこでは眠りが
味わえた。草花の呼吸を聞いて、カーテンの向こうの夜景を感じながら、い
つもすっと眠れた。それよりほしいものは、今、思いつかないので私は幸福
だった。 (吉本バナナ, 2005, p.31)
ฉันตกหลุมรักห้ องครัวเช่นเดียวกับที่รักโซฟาของบ้ านทะนะเบะ ที่นี่ฉันสามารถที่ จะ
นอนหลับได้ อย่างสบาย ได้ ยินเสียงเหล่าดอกไม้ ใบหญ้ า รู้ สึกถึงวิวทิวทัศน์ยามค่าคืน
ตรงนอกผ้ าม่านนัน้ เพียงแค่นนก็
ั ้ ทาให้ ฉันนอนหลับได้ อย่างสนิทแล้ ว และตอนนี ้ไม่มี
อะไรที่ฉนั จะต้ องการไปมากกว่านี ้แล้ ว ตอนนี ้ฉันมีความสุขแล้ วจริง ๆ. (แปลโดยผู้วิจยั )
นอกจากนี ้ผู้เขียนได้ นาเสนอภาพห้ องครัวที่ทาให้ มีอิทธิพลเปลี่ยนแปลงความรู้สึกของตัวละครอย่าง
ช้ า ๆ จนในที่สดุ ตัวละครมิกะเงะก็สามารถไว้ ใจและรู้สึกมีความสุขเมื่ออยู่ในพื ้นที่แห่งนี ้ ไม่เพียงแค่
ตัวบทข้ างต้ นเท่านัน้ การที่มิกะเงะเลือกที่จะสารวจห้ องครัวของบ้ านทะนะเบะเป็ นอัน ดับแรกแล้ ว
เธอก็ร้ ูสกึ ตกหลุมรักห้ องครัวที่มีแสงสว่างมีชีวิตชีวาและเต็มไปด้ วยเครื่ องครัวที่ครบครัน มีต้ เู ย็นหลัง
เล็ก ๆ ที่จดั อย่างเป็ นระเบียบของบ้ านทะนะเบะ (吉本バナナ, 2005, p.14-15) ก็ทาให้ เห็นว่า
ห้ องครัวมีอิทธิพลต่อตัวละครเป็ นอย่างมาก จนทาให้ ตวั ละครมิกะเงะมีความสัมพันธ์ ที่ดีกับแม่ลูก
ทะนะเบะในช่วงเวลาที่อาศัยอยู่กบั พวกเขา เช่น เอะริ โกะ ที่มกั จะใช้ เวลาอยู่ในห้ องครัวด้ วยกัน ไม่
ว่าตอนที่เธอฝึ กทาอาหารอยู่หรื อตอนได้ ยินเสียงน ้าเดือดขณะที่เอะริ โกะเข้ ามาในครัว เธอก็มกั จะ
34
รู้สึกอุ่นใจและนอนหลับสบาย (吉本バナナ, 2005, p.76) หรื อจะเป็ นเวลาที่เธอกับยูอิจิชวนกันต้ ม
ราเม็งและทาน ้าผลไม้ ด้วยเครื่ องปั่ นน ้าผลไม้ (吉本バナナ, 2005, p.57-59) เป็ นต้ น
2.) ช่วงที่เอะริโกะเสียชีวิต เป็ นช่วงเวลาที่มิกะเงะได้ ย้ายออกไปอยู่บ้านใหม่ของเธอเอง พอ
หลังจากงานศพของเอะริโกะผ่านไป ยูอิจิถึงได้ โทรไปแจ้ งข่าวกับเธอว่า แม่ของเขาเสียชีวิตแล้ ว จาก
เหตุการณ์ที่มีชายโรคจิตแอบตามเอะริ โกะไปที่คลับบ่อย ๆ โดยเอะริ โกะถูกชายคนนันใช้
้ มีดเข้ าไป
ทาร้ ายจนถึงแก่ชีวิต หลังวางสายจากยูอิจิแล้ วมิกะเงะได้ กลับไปที่แมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะ
อีกครัง้ โดยในช่วงนี ้ผู้เขียนได้ ใช้ คาเพื่อสื่ออารมณ์ความแตกต่างในช่วงที่เอะริ โกะยังมีชีวิตอยู่และ
บรรยายเหตุการณ์ในช่วงนี ้สลับกับบทเหตุการณ์ในความทรงจาของมิกะเงะที่มีตอ่ เอะริโกะ
扉の閉まる音と共に、やっとひとりになったらぐったりと疲れているのに気
づいた。部屋は、秒を刻む時間を感じさせないほどにしんとして、私だけが
生きて活動していることを申しわけなく思うような静止した雰囲気をかもし
だしていた。人が死んだ後の部屋はいつもこうだ。 (吉本バナナ, 2005, p.78)
พร้ อมกับเสียงปิ ดบานประตูของยูอิจิ ในที่สุดก็เหลือฉันเพียงลาพัง ฉันรู้ สึกเหนื่อยล้ า
เหลือเกิน ยิ่งไม่รับรู้ถึงเวลาวินาทีที่ผ่านไปห้ องทังห้
้ องก็เงียบสงัด ฉันรู้สึกผิดเหลือเกิน
ที่มีเพียงฉันที่ยงั คงมีชีวิตและเคลื่อนไหวอยู่ในที่นีก้ ับบรรยากาศที่หยุดนิ่ง ไม่ว่าจะที่
ไหนก็เป็ นแบบนี ้หลังจากที่มีใครสักคนได้ ตายจากไป. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากบทความข้ างต้ นจะเห็นได้ ว่าผู้เขียนยังคงใช้ คาที่ร้ ู สึกเศร้ าหดหู่ใจกับการจากไปของเอะริ โกะ
ในการนาเสนอโทนบรรยากาศของฉาก อาทิเช่น คาว่า เงียบสงัด (しんと), บรรยากาศที่หยุดนิ่ง (
静止した雰囲気), เมื่ อแสงนันดั
้ บไป (消えた時に), ตกอยู่ในเงาความสิ ้นหวัง (重い影を落とす)
ทาให้ บ้านหลังนี ้มีกริ ยาคล้ ายมนุษย์ เงี่ยหูฟังเสียงของยูอิจิเมื่อทังห้
้ องตกอยู่ในความเงียบ เป็ นต้ น
ส่วนในห้ องครัวที่เคยมีเอะริ โกะอยู่นนผู
ั ้ ้ เขียนบรรยายไว้ ว่า ไม่ว่าตอนนี ้ตัว มิกะเงะจะเฝ้ารอเอะริ โกะ
กลับมาจากที่ทางานแค่ไหน แต่เอะริโกะก็ไม่มีวนั กลับมาอีกแล้ ว ซึ่งยิ่งเพิ่มความรู้สึกหดหู่เศร้ าใจใน
พื ้นที่ห้องครัวซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ในบ้ านหลังนี ้ (吉本バナナ, 2005, p.76)
そうして、とりあえず久々の田辺家台所に立ってみた。瞬間、えり子さんの
笑顔が浮かんで胸がきりきりとしたが、体を動かしたかった。どうもこの台
所は、ここのところ使われていないのかもしれない、と思える。薄汚れて、
暗かった。私はそうじをはじめた。みがき粉でシンクをごしごしこすり、ガ
ス台をふき、レンジの皿を洗って、包丁をとぐ。ふきんを全部洗ってさら
35
し、乾燥機にかけてごうんごうんと回っているのを見ているうちに、心が実
にしっかりしてきたのがわかった。「……」 (吉本バナナ, 2005, p.79-80)
หลังจากที่ไ ม่ได้ ม ายืนในครัวของบ้ านทะนะเบะเสียนาน พลันฉันก็เห็นภาพใบหน้ า
เปื อ้ นยิ ้มของเอะริโกะขึ ้นมา มันทาให้ หวั ใจของฉันปวดแปลบ แต่กระนันฉั
้ นก็ยงั อยากที่
จะขยับตัวทาอะไรสักอย่าง ห้ องครัวนี เ้ หมือนจะไม่ไ ด้ ถูกใช้ งานมาสักพักแล้ ว มันดู
สกปรกและมืดหม่น คิดได้ ดงั นันฉั
้ นจึงเริ่ มทาความสะอาด ขัดถูล้างอ่างล้ างจานด้ วย
ผงขัด เช็ดหัวเตาแก๊ ส ล้ างจานรองในเตาไมโครเวฟ ลับมีด ซักผ้ าเช็ดจานทังหมดทุ
้
กผืน
และในขณะที่มองดูมนั ถูกปั่ นหมุนอยู่ในเครื่ องปั่ นแห้ งนัน้ ฉันจึงได้ ร้ ูสึกว่าหัวใจของฉัน
เองได้ สงบลง. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากบทความข้ างต้ นก็เป็ นอีกครัง้ ที่ผ้ เู ขียนใช้ คาบรรยายให้ เห็นว่าห้ องครัวมีอิทธิ พลต่อตัวละครมิ
กะเงะ และมักจะคิดถึงความทรงจาในทุกช่วงของชีวิตยามเมื่อยู่ในห้ องครัว อีกทังในตอนนี
้
้มิกะเงะ
ยังได้ บอกว่าเหตุใดที่ทาให้ เธอหลงรักอะไรก็ตามที่เกี่ยวกับห้ องครัว นัน่ ก็คือ ห้ องครัวเปรี ยบเสมือน
ความปรารถนาที่ใฝ่ ฝั น ซึ่งสลักอยู่ในจิตวิญญาณของเธอ และเมื่อใดก็ตามที่ได้ ยื นอยู่ในห้ องครัว
เหมือนทุกสิ่งทุกอย่างจะกลับเริ่ มต้ นใหม่ และบางสิ่งบางอย่างก็จะหวนคืนมา (吉本バナナ, 2005,
p.80) ซึ่งยิ่งตอกย ้าว่าห้ องครัวเป็ นพื ้นที่ที่ตวั ละครมิกะเงะมีความผูกพัน มีความทรงจาเริ่ มต้ นจาก
พื น้ ที่ นี ม้ ากมายและซ่ อ นความปรารถนาอยากเริ่ ม ต้ น ชี วิ ต ใหม่ เ มื่ อ เกิ ดความทุ ก ข์ ใ จในชี วิ ต
เหมือนกันกับการทาความสะอาดห้ องครัวของเธอไม่ให้ ห้องครัวนี ้ต้ องสกปรกและมืดหม่น
二時間かけて、私は夕食を作った。雄一は、その間 TV を観たり、じゃがいも
の皮をむいたりしていた。「……」だから、二人でいてもわざとえり子さん
の死を語らず、時間や空間のなにがなんだかわからない度が増したけれど、
今は二人でいるしかなかった。他も先のこともなく安心した空間をあたたか
く感じた。「……」 (吉本バナナ, 2005, p.86)
ฉันใช้ เวลาไปเกื อบสองชัว่ โมงในการทาอาหารเย็น ในตอนนัน้ ยังมียูอิจิที่กาลังปอก
เปลือกมันฝรั่งไปพร้ อม ๆ กับดูทีวีด้วย. (......) ดังนัน้ เมื่ออยู่กนั เพียงลาพังสองคนเราก็
จะไม่พดู ถึงการตายของเอะริโกะ วันเวลาและพื ้นที่นี ้ได้ ขยายเพิ่มขึ ้นแต่ทว่า ในตอนนี ้ที่
มีเพียงเราสองคน อยู่ในพื ้นที่ที่ไม่ต้องกังวลเรื่ องอื่นหรื อเรื่ องก่อนหน้ านี ้ทาให้ ฉันรู้ สึก
อบอุน่ ใจและวางใจ. (......) (แปลโดยผู้วิจยั )
36
จากบทความข้ างต้ นนี ้ยังแสดงให้ เห็นอีกว่ามิกะเงะต้ องการการเริ่ มต้ นใหม่ และพยายามหลีกเลี่ยง
ที่จะพูดถึงการจากไปของเอะริ โกะ รวมทังในพื
้
้นที่ห้องครัวนี ท้ ี่ไม่มีเอะริ โกะอีกแล้ วมันจะทาให้ เธอ
เจ็บปวด แต่ในตอนนี ้หากแค่มีเพียงยูอิจิอยูด่ ้ วยกันกับเธอก็สามารถทาให้ เธออุน่ ใจได้
จากข้ างต้ นผู้วิจยั ได้ สงั เกตเห็นว่าผู้เขียนต้ องการนาเสนอภาพห้ องครัวของครอบครัวทะนะ
เบะที่ทาให้ ตวั ละครได้ ก้าวเริ่ มต้ นชีวิตใหม่ในสถานที่ใหม่ ๆ เริ่ มต้ นมีความทรงจาใหม่ ๆ กับผู้คนที่
ผ่านเข้ ามา โดยมีห้องครัวซึ่งเป็ นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อตัวละครเป็ นสิ่งเชื่อม และเมื่อตัวละครได้ สญ
ู เสีย
บุคคลที่สาคัญในชีวิตอีกครัง้ เธอก็ยงั เรี ยนรู้ ที่จะก้ าวต่อไปเพื่อมีชีวิตอยู่พร้ อม ๆ กับคนสาคั ญที่ยัง
เหลืออยูใ่ นพื ้นที่นี ้ที่เธอรู้สกึ อุน่ ใจและเป็ นคนที่เข้ าใจความรู้สกึ ของเธอ
2.3 พืน้ ที่ห้องครัวในสถำบันสอนทำอำหำร
พื ้นที่ห้องครัวในสถาบันทาอาหารนี ้เป็ นพื ้นที่ที่ทางานของตัวละครมิกะเงะ เมื่อเธอได้ งาน
เป็ นผู้ชว่ ยสอนอาจารย์ทาอาหารที่นี่เธอก็ได้ ย้ายออกจากแมนชัน่ ของแม่ลกู ทะนะเบะไปยังบ้ านใหม่
ของเธอ ในสถานที่นี ้ทาให้ เธอได้ ร้ ูจกั เพื่อนใหม่ที่ทางาน อีกทังยั
้ งได้ เผชิญหน้ ากับโอคุโนะผู้เป็ นแฟน
สาวคนก่อนของยูอิจิที่เข้ ามากล่าวต่อว่าเธอ เหตุเพราะเข้ าใจผิดจากข่าวลือของเธอกับยูอิจิ โดยใน
ส่วนนี ้ผู้เขียนได้ ใช้ คาเพื่อสร้ างภาพห้ องครัวให้ เป็ นสถานที่ทางาน
ลักษณะห้ องครัวที่สถาบันสอนทาอาหารในตัวบททาให้ เห็นภาพห้ องครัวที่แตกต่างออกไป
จากที่บ้านเก่าของเธอและบ้ านทะนะเบะ โดยเฉพาะความกว้ างขวาง และอุปกรณ์ครัวที่ครบครัน
กว่ามาก แต่ผ้ เู ขียนก็ยงั คงใช้ คาที่เกี่ยวกับแสงสว่าง และเป็ นพื น้ ที่ที่มีแสงสว่างจากแสงอาทิตย์สาด
ส่องถึง24
この二人は同じ大学から一緒にここに紹介で入ってきたそうだ。もちろん、
料理の勉強を四年間してきている、プロだ。栗ちゃんは陽気でかわいらし
く、典ちゃんは美人のお嬢様、という感じの人だった。二人はとても仲がよ
い。いつも目を張るような上品なセンスの服を身にまとい、気持ちよくきち
んとしている。ひかえめで、親切で、がまんがきく。料理界には少ない良家
の娘さんタイプの中でも、この人たちの輝きは本物だった。
ナ, 2005, p.95)
24
ดูตวั บทเพิ่มเติมในหน้ า 26
(
吉本バナ
37
ทังสองคนได้
้
รับการแนะนาจากมหาวิทยาลัยเพื่อเข้ าทางานที่นี่ แน่นอนว่าพวกเธอเป็ น
มืออาชีพด้ วยการเรี ยนในหลักสูตรสอนทาอาหารถึงสี่ปี คุริเป็ นคนที่น่ารักสดใส โนริ
เป็ นคุณหนูที่มีหน้ าตาสะสวย และทังสองคนก็
้
สนิทสนมกันมาก บ่อยครัง้ ที่ฉันรู้สึกอด
จ้ องมองพวกเธอไม่ไ ด้ ด้ วยการแต่งกายอย่างมีรสนิยมของพวกเธอ อีกทังด้
้ วยท่าทาง
เรี ยบร้ อย ใจดี มีความอดทน ซึง่ พวกเธอเป็ นเหล่าคนในวงการอาหารประเภทที่มาจาก
ครอบครัวที่ดีไม่น้อยที่จะมีออร่าเปล่งประกายอย่างแท้ จริง. (แปลโดยผู้วิจยั )
นอกจากนี ้ในตัวบทข้ างต้ นยังมีเพื่อนร่ วมงานที่แสดงถึงภาพห้ องครัวที่เป็ นสถานที่ทางานซึ่งไม่ใช่
ห้ องครั วที่ ตัวละครคุ้น เคยและเข้ าออกยามเมื่ อ ต้ องการท าอาหารให้ กับใครสัก คน แต่หากเป็ น
สถานที่ที่ตวั ละครต้ องสอนผู้อื่นทาอาหาร ดังจะเห็นได้ จากลักษณะเพื่อนร่วมงานของเธอได้ จากบท
ข้ างต้ นว่า พวกเธอมีความเป็ นมืออาชีพ มีคณ
ุ สมบัติข องการเป็ นผู้สอนทาอาหารอย่างแท้ จริ ง และ
มากจากครอบครัวที่มีฐานะดี อีกทังยั
้ งเห็นได้ ชดั จากตอนหนึ่งที่มิกะเงะได้ เตรี ยมแบ่งเครื่ องปรุงใส่
ชามต่าง ๆ ชั่ง ตวงส่วนผสม และต้ มนา้ ในหม้ อใบใหญ่ ยักษ์ ต้ องทาทุกอย่างแบบมื ออาชี พที่ สุด
รวมทังพื
้ ้นที่ห้องครัวแห่งนี ้มีกฎระเบียบที่ ทุกคนต้ องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด ดังเช่นตอนหนึ่งที่ครุ ิ
ได้ พดู ขึ ้นมาอย่างตกใจว่าเธอลืมล้ างน ้ายาทาเล็บออก ซึง่ อาจจะทาให้ เธอโดนตาหนิ ได้ ( 吉本バナ
ナ, 2005, p.96) หรื อแม้ กระทัง่ สามารถเห็นได้ จากบุคคลที่เป็ นเจ้ าของสถาบันสอนทาอาหารแห่งนี ้
ซึง่ ก็คืออาจารย์ เพราะเธอไม่ได้ เป็ นเพียงแค่อาจารย์สอนทาอาหารเท่านันแต่
้ ยงั เป็ นผู้ที่คร่ าหวอดใน
วงการทีวีและนิตยสารอีกด้ วย ซึ่งการที่ตวั ละครมิกะเงะได้ รับเลือกจากอาจารย์ให้ เข้ ามาทางานที่นี่
ทาให้ เธอต้ องแข่งขันกับผู้คนมากมายอีกด้ วย (吉本バナナ, 2005, p.81-82)
私は、自分とこんなにかけ離れた人生の人たちでも、二人がとても大好きだ
った。彼女たちは、おたまをちょっと取ってあげても、ありがとう、と笑
う。私が風邪をひいていたりすると、すぐに大丈夫?と心配してくれる。二
人が白いエプロンで光の中、くすくす笑っている様子は、涙が出るほど幸福
な眺めに思える。彼女たちと共に働くことは、私とて、とても心の安まる楽
しいことだった。 (吉本バナナ, 2005, p.96)
ถึงแม้ พวกเธอจะแตกต่างจากฉัน ฉันก็ยงั คงชอบพวกเธอทังสองมาก
้
ๆ อยู่ดีทกุ ๆครัง้ ที่
ฉันยื่นทัพพี ให้ พวกเธอจะยิ ้มพร้ อมเอ่ยขอบคุณ ถ้ าฉันเป็ นหวัด พวกเธอก็จะถามไถ่
ด้ วยความห่วงใย แสงสว่างที่สะท้ อนภาพของพวกเธอในชุดผ้ ากันเปื อ้ นสีขาวนัน้ ทาให้
ฉันยิ ้มและมีความสุข การที่ได้ ทางานร่วมกับพวกเธอทังสองนั
้
นท
้ าให้ ใจของฉันสงบสุข
และเบิกบานยิ่งนัก. (แปลโดยผู้วิจยั )
38
จากตัวบทข้ างต้ นผู้เขียนได้ ใช้ คา อาทิเช่น ชื่นชอบมาก (大好き), ยิ ้มแย้ ม (笑う), แสงสว่าง (光),
ความสุข (幸福), รู้สกึ ผ่อนคลายสุขสงบ (安まる), สนุกสนาน (楽しい) เป็ นต้ น เพื่อบ่งบอกว่าพื ้นที่
ห้ องครัวแห่งนี ้ถึงแม้ จะเป็ นสถานที่ที่ทางานและมีการแข่งขัน ต้ องเป็ นมืออาชีพตลอดเวลา แต่ ในนัน้
ก็ยงั คงทาให้ เธอรู้สกึ มีความสุขกับการได้ ทาในสิ่งที่รัก รวมถึงการได้ มีเพื่อนร่วมงานที่ดี
全く利害が一致していない面会が、あと味悪く、終わった。「……」午後の
光が射す調理室に立ちつくしたままで、私は、とほほほ、と思った。
( 吉本
バナナ, 2005, p.102)
เหตุการณ์ปะทะกันที่ไม่ได้ ข้อสรุ ปนันได้
้ จบสิ ้นลงแล้ ว และทิ ้งไว้ ด้วยรสชาติ ที่ขมปร่ า.
(......) บ่ายวันนันที
้ ่แสงอาทิตย์สาดส่องไปทัว่ ห้ องครัวที่นนั่ ฉันรู้สึกอ่อนล้ าจริ ง ๆ. (แปล
โดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นเป็ นเหตุการณ์ที่โอคุโนะผู้เป็ นแฟนสาวคนก่อนของยูอิจิได้ เข้ ามาต่อว่ามิกะเงะซึ่ง
หลังจากที่ได้ ปะทะกันแล้ ว ความรู้สกึ ที่ผ้ เู ขียนใช้ ในการบรรยายความรู้สึกและอารมณ์ในฉากนี ้ทาให้
ห้ องครัวที่นี่ไม่เหมือนที่บ้านของทะนะเบะที่ใครก็ได้ สามารถเข้ ามา แม้ กระทัง่ คนที่ไม่ร้ ูจกั ตัวเธอดียงั
สามารถเข้ ามาต่อว่าเธอได้ อย่างเย็นชานันจึ
้ งทาให้ เธอรู้สกึ อ่อนล้ าและเหนื่อยใจ
จากข้ างต้ นผู้วิจยั สังเกตได้ ว่าผู้เขี ยนใช้ เทคนิคการใช้ คาเพื่อนาเสนอภาพพื ้นที่ห้องครัวใน
สถาบันสอนทาอาหารให้ แตกต่างจากบ้ านเก่าของตัวละครและแมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะ ซึ่งมี
หลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึน้ ทาให้ ตวั ละครได้ เรี ยนรู้ ชีวิตในการทางาน ได้ เจอพืน้ ที่ห้องครัวในอีก
รูปแบบหนึ่งที่เธอไม่เคยประสบ ถึง แม้ จะเป็ นพื ้นที่ที่เธอชอบก็ตามแต่ก็มีสิ่งที่ยากลาบากอยู่ในพื ้นที่
นี ้ ไม่วา่ จะเป็ นการทางานหรื อเหตุการณ์อย่างเช่นการถูกต่อว่าจากบุคคลอื่น
3. บทบำทของพืน้ ที่ห้องครัวกับตัวละคร
ในส่ว นนี ผ้ ้ ูวิ จัย จะศึกษาบทบาทหน้ า ที่ ข องพื น้ ที่ ห้ องครั ว โดยดูจ ากความสัม พัน ธ์ ข อง
สถานที่ กับ ตัว ละครและสถานการณ์ เพื่ อหาว่า บทบาทของพื น้ ที่ ห้ อ งครั ว มี ส่ว นอย่างไรในการ
นาเสนอลักษณะของตัว ละครในแง่ ที่ ว่า พื น้ ที่ ห้องครั ว มี อิท ธิ พ ลต่อตัวละครอย่างไร และทาให้
สถานการณ์ของตัวละครเปลี่ยนไปอย่างไรตามลาดับ
39
3.1 บทบำทของพืน้ ที่ห้องครัวในบ้ ำนของมิกะเงะ
ตัว ละครมิ ก ะเงะเป็ นตัว ละครหญิ ง วัย รุ่ น ที่ สูญ เสี ย พ่อ แม่ตัง้ แต่ยัง เล็ ก จึ ง เติบ โตมาใน
ครอบครัวที่มี เพี ยงตาและยายเลีย้ งดู แต่ต่อมาตาก็ไ ด้ ด่วนจากไปสมัยที่เธอยังเรี ยนอยู่เพียงชัน้
มัธยมต้ น จึงทาให้ เธออยู่กบั ยายสองคนเพียงลาพังในบ้ านที่เป็ นอพาร์ ตเม้ นต์ท่ามกลางสิ่งแวดล้ อม
ในโตเกียว เนื่องจากยายเป็ นสมาชิกครอบครัวคนสุดท้ ายที่เหลื ออยู่จึงทาให้ มิกะเงะรักและสนิท
สนมกับยายมาก ดังจะเห็นได้ ในตัวบทที่บรรยายถึงความทรงจาของมิเธอว่า ในตอนที่ยายยังมีชีวิต
อยู่เธอและยายมักจะพูดคุย ดูทีวี กินเค้ ก ดื่มชาด้ วยกัน และพื ้นที่ห้องครัวก็เป็ นส่ วนหนึ่งของบ้ าน
หลังนี ้เป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ เธอได้ ใช้ วนั เวลาร่วมกันกับยายอย่างมีความสุขมาตลอด ตัวละครอาจมักเห็น
ยายทาอาหารในครัวเสมอ ดังจะเห็นจากตัวบทตอนที่เธอเห็นเครื่ องปอกเปลือกผลไม้ จากเยอรมันใน
บ้ านทะนะเบะแล้ วคิดว่าคงจะสะดวกและเพลิดเพลินสาหรับหญิงชราสักคนจะใช้ มนั นัง่ ปอกผลไม้
เนื่องจากเธอใช้ ชีวิตมากับยายซึ่งเป็ นคนชรามาตลอดจึงอาจจะคุ้นชินเพียงการเห็นยายที่ไม่เคยใช้
เครื่ องมืออานวยความสะดวกแบบนันมากนั
้
ก (吉本バナナ, 2005, p.15) อีกทังยั
้ งเป็ นพื ้นที่ที่ยาย
มักจะชอบนาดอกไม้ ที่ซื ้อจากร้ านขายดอกไม้ มาเปลี่ยนเสมอ ๆ ไม่ให้ เหี่ ยวเฉา (吉本バナナ, 2005,
p.12) จนทาให้ ตวั ละครมิกะเงะที่ยงั คงรู้สึกเศร้ าหลังจากงานศพยายผ่านไปนัน้ รู้สึกว่าพื ้นที่ที่เธอจะ
สามารถนอนหลับได้ โดยไม่ทาให้ เธอคิดถึงการต้ องอยู่อย่างโดดเดี่ยวนับจากนี ้ไปได้ ก็คือพื ้นที่ข้าง
ตู้เย็นในห้ องครัว (吉本バナナ, 2005, p.8) หรื อไม่ว่าจะเหตุการณ์ความฝั นของเธอที่ผกู พันอยู่กบั
พื ้นที่ห้องครัวในบ้ านหลังนี ้ ถึงแม้ เธอจะย้ ายออกไปแล้ วก็ตาม (吉本バナナ, 2005, p.51-52)
私がこの世でいちばん好きな場所は台所だと思おう。どこのでも、どんなの
でも、それが台所であれば食事を作る場所であれば私はつらくない。できれ
ば機能的でよく使い込んであるといいと思う。乾いた清潔なふきんが何枚も
あって白いタイルがぴかぴか輝く。ものすごく汚い台所だって、たまらなく
好きだ。床に野菜くずが散らかっていて、スリッパの裏が真っ黒になるくら
い汚いそこは、異様に広いといい。ひと冬軽く越せるような食料が並ぶ大臣
な冷蔵庫がそびえ立ち、その銀の扉に私はもたれかかる。「……」( 吉本バナ
ナ, 2005, p.7)
สถานที่ที่ฉันชื่นชอบที่สุดในโลกคือห้ องครัว ไม่ว่าจะเป็ นห้ องครัวที่ไหน แบบไหน ถ้ า
เป็ นห้ องครัวที่ที่เขาใช้ ทาอาหารกันฉันก็ชอบทังนั
้ น้ ถ้ าเป็ นไปได้ ล่ะก็เป็ นห้ องครัวที่มี
อุปกรณ์ครบครัน มีผ้าเช็ดจานแห้ งสะอาดหลาย ๆ ผืน กระเบื ้องปูพื ้นสีขาวต้ องแสงไฟ
เป็ นประกายวาววับ ฉันหลงรักแม้ กระทัง่ ห้ องครัวที่สกปรก บนพื ้นเต็มไปด้ วยเศษผัก
40
กระจายจนทาให้ พืน้ รองเท้ าแตะกลายเป็ นสีดา และที่แปลก ๆ ก็คือ ยิ่งเป็ นห้ องครั ว
กว้ าง ๆ ยิ่งดี ตู้เย็นขนาดใหญ่ที่เก็บกักตุนอาหารสาหรับฤดูหนาวนันฉั
้ นจะเข้ าไปพิงตัว
กับประตูสีเงินของมัน(....). (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทก็จะสังเกตได้ ว่าตัวละครมีนิสยั รักและชื่นชอบห้ องครัวเป็ นอย่างมาก ซึ่งจุดเริ่ มความชื่น
ชอบห้ องครัวของตัวละครอาจจะมาจากสิ่ งแวดล้ อมที่เธอเติบโตขึ ้นมา ดังนันห้
้ องครัวที่บ้านหลังนี ้
จึงเปรี ยบกับความผูกพันแรกในชีวิตของเธอจนทาให้ ตวั ละครผูกพันสนิทแนบแน่นกับพื ้นที่ห้องครัว
ซึ่งพอยายเสียชีวิตลง ทาให้ พื ้นที่ห้องครัวนี ้ไม่มีเสียงยายขณะที่ทาอาหาร ไม่มีดอกไม้ ที่ยายคอย
เปลี่ยน รวมทังในทุ
้ ก ๆ อย่างที่เคยมีมาตลอดตังแต่
้ เธออาศัยและเติ บโตมาในพื ้นที่แห่งนี ้กลับเงียบ
และไร้ ชีวิตชีวาจนทาให้ ได้ ยินแม้ กระทัง่ เสียงตู้เย็น ซึง่ การสูญเสียสมาชิกคนสุดท้ ายในครอบครัวที่ มี
สายเลือดเดียวกันกับเธอไปอย่างแท้ จริงนันบ่
้ งบอกได้ วา่ พื ้นที่ห้องครัวมีอิทธิพลกับเธอเป็ นอย่างมาก
ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวในบ้ านของมิกะเงะหลังนี ้จึงมี บทบาทในการนาเสนอเรื่ องราวชีวิต ตังแต่
้
วัยเด็กและความผูกพันกับครอบครัวที่แท้ จริงของเธอจนกระทัง่ ถึงตอนที่ได้ สญ
ู เสียสมาชิกทังหมดใน
้
ครอบครัวไปเหลือตัวคนเดียวเพียงลาพังอันเป็ นสาเหตุของความโดดเดี่ยวของตัวละคร
3.2 บทบำทพืน้ ที่ห้องครัวในแมนชันของครอบครัวทะนะเบะ
ในห้ องครัวที่บ้านทะนะเบะนันท
้ าให้ ตวั ละครมีความสัมพันธ์ กับตัวละครอีก 2 ตัวนัน่ ก็คือ
ยูอิจิ ทะนะเบะ ผู้เป็ นลูกชายของ เอะริ โกะ ทะนะเบะ ผู้เป็ นพ่อที่กลายมาเป็ นแม่ด้วยการแปลงเพศ
เป็ นผู้หญิ ง การเข้ า มาอาศัย อยู่กับสองแม่ลูก ทะนะเบะนัน้ ทาให้ ชี วิตของตัวละครได้ เ ปลี่ ย นไป
สถานการณ์ของเรื่ องก็เปลี่ยนไปด้ วย ชีวิตของตัวละครมิกะเงะที่คิดว่าหลังจากที่เธอย้ ายออกจาก
บ้ านเก่าแล้ วเธอคงจะต้ องมี ชี วิ ตที่ โดดเดี่ยวอยู่ตามล าพัง ก็ ไ ด้ เ ปลี่ ยนไป และเป็ นอี กครั ง้ ที่ พื น้ ที่
ห้ องครัวได้ เข้ ามามีอิทธิพลกับเธอ ดังจะเห็นได้ ตงแต่
ั ้ ครัง้ แรกที่มิกะเงะเลือกที่จะสารวจห้ องครัวบ้ าน
ทะนะเบะก่อนเป็ นอันดับแรก เมื่อเธอสารวจแล้ วพบว่าเธอตกหลุมรักห้ องครัวของบ้ านทะนะเบะเข้ า
แล้ วและคิดว่าห้ องครัวของบ้ านทะนะเบะแม้ จะแตกต่างจากที่บ้านเก่าแต่หากมีอปุ กรณ์เครื่ องครัว
ทันสมัยครบครัน มีจานชามที่เป็ นของชันดี
้ มีต้ เู ย็นหลังเล็ก ๆ ที่จดั ของอย่างเป็ นระเบียบ เธอก็ร้ ูสึก
ยิ่งถูกใจห้ องครัวนี ้และคิดว่ามันก็เป็ นห้ องครัวที่ดีจริ ง ๆ (吉本バナナ, 2005, p.13-15) ถึงแม้ ใน
คราวแรกนันเธอจะรู
้
้ สึกว่าเธออยู่ในพื ้นที่ของคนแปลกหน้ าก็ตาม แต่อีก ด้ านเมื่อเธอได้ เห็นห้ องครัว
41
กลับไว้ ใจสมาชิกในบ้ านนี ้ เธอจึงตอบรับคาชักชวนให้ อาศัยกับครอบครัวทะนะเบะจนกว่าจะหาที่อยู่
ใหม่ได้
「……」お気に入りの台所に立てた嬉しさで目が冴えてくると、ふいに、彼
女が男だというのを思い出してしまった。私は思わず彼女を見た。嵐のよう
なデジャヴーが襲ってくる。光、降りそそぐ朝の光の中で、木の匂いがす
る、このほこりっぽい部屋の床にクッションを敷き、寝ころんで TV を観てい
る彼女がそごく、なつかしかった。私の作った玉子がゆと、きゅうりのサラ
ダを彼女は嬉しそうに食べてくれた。「……」(吉本バナナ, 2005, p.26)
(......) ขณะที่ฉนั กาลังยืนอยู่ในห้ องครัวที่ฉันชื่นชอบนัน้ พลันก็คิดขึ ้นมาว่าเอะริ โกะนัน้
เป็ นผู้ชาย แล้ วก็หนั ไปมองเธอ ความรู้ สึกแบบนี ้เหมือนว่ามันเคยเกิดขึน้ มาแล้ วครัง้
หนึ่งก่อนหน้ า ในยามเช้ าที่แดดสาดส่องเข้ ามา พลันก็ได้ กลิ่นไม้ ของตัวบ้ าน เอะริ
โกะลากฟูกเบาะมาปูไว้ บนพื ้นแล้ วกลิ ้งนอนดูทีวี ฉันคิดถึงสิ่งเหล่ านี ้อย่างกับว่ามันคือ
ภาพในอดีตขณะที่เอะริ โกะก็ได้ จดั การกับมื ้อเช้ าที่ฉันทาให้ เช่น ข้ าวต้ มใส่ไข่ กับสลัด
แตงกวา อย่างมีความสุข(.......). (แปลโดยผู้วิจยั )
ในตัวบทตอนนี จ้ ะเห็ นได้ ว่า ในพื น้ ที่ ห้องครั วแห่ง นี เ้ ธอก าลัง ค่ อย ๆ ขยับเข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่ง ใน
ครอบครัวทะนะเบะ ด้ วยการอาสาทาอาหารให้ เอะริ โกะทาน ถึงแม้ ว่าเธอจะยังรู้สึกว่าเช้ านี ้เป็ นการ
ทานอาหารกับคนแปลกหน้ าในบ้ านของเขาก็ตาม แต่เมื่อวันเวลาที่เธอได้ อาศัยอยู่ในบ้ านทะนะเบะ
ก็ทาให้ เธอมีโอกาสได้ ร้ ูจกั พวกเขาทังสองมากขึ
้
้น อีกทังเธอก็
้
มีความสุขที่การทาอาหารของเธอทา
ให้ ทุกคนในบ้ านสามารถอยู่พร้ อมหน้ าพร้ อมตากันได้ และในหลาย ๆ ครัง้ ที่เธอทาอาหารในครัวก็
มักจะมีเอะริโกะอยูด่ ้ วย หรื อจะเป็ นยูอิจิที่เข้ ามาชงชาหรื อทาน ้าผลไม้ จากเครื่ องปั่ น ซึ่งเหตุการณ์ใน
พื ้นที่ห้องครัวเหล่านี ้ทาให้ เกิดเป็ นความทรงจาใหม่ที่ดีหลังจากได้ สญ
ู เสียพื ้นที่ ห้องครัวที่เป็ นตัวแทน
ของครอบครัวที่แท้ จริ งไปแล้ ว อีกทังเหตุ
้ การณ์ที่เน้ นยา้ ว่ามิกะเงะได้ ไว้ ใจและดีใจที่ได้ รับการเป็ น
ส่วนหนึง่ ของครอบครัวแล้ วก็คือ การที่เอะริโกะได้ ซื ้อแก้ วน ้าสาหรับทุกคนในบ้ านและสาหรับมิกะเงะ
ด้ วยซึ่งไม่ใช่ในฐานะแขกของบ้ านแต่เป็ นคนในครอบครัว (吉本バナナ, 2005, p.45) นอกจากนี ้
ยังสามารถเห็นบทบาทของพื ้นที่ห้องครัวที่ยงั คงส่งอิทธิพลต่อจิตใจตัวละครที่ทาให้ ตวั ละครหลุดพ้ น
จากความโศกเศร้ า และการที่อยากมี ชีวิตอยู่ต่อไปหลัง จากที่ ได้ พ บกับครอบครัวทะนะเบะแล้ ว
เสมือนว่าเธออยากเริ่มต้ นใหม่กบั ครอบครัวใหม่ในที่แห่งนี ้ (吉本バナナ, 2005, p.50-51)
42
ต่อ มาหลัง จากที่ เ อะริ โ กะตายไป พื น้ ที่ ห้ องครั ว ก็ ไ ด้ ม ามี ส่ ว นเน้ นย า้ ว่ า เป็ นพื น้ ที่ ที่ มี
ความสาคัญต่อตัวละคร ซึง่ เหตุการณ์ในตอนนี ้มิกะเงะได้ ย้อนกลับมาที่บ้านทะนะเบะอีกครัง้ และมี
โอกาสได้ ใ ช้ ห้ อ งครั ว ที่ บ้ า นทะนะเบะอี ก ครั ง้ เช่ น กัน คราวนี ห้ ้ อ งครั ว ดูเ ปลี่ ย นไปไม่มี ชี วิ ต ชี ว า
เหมือนเดิม เหมือนกับว่าห้ องครัวไม่ได้ ถูกใช้ งานมาสักพักหนึ่งแล้ ว จึงทาให้ เห็นว่าเมื่อมีสมาชิ กใน
ครอบครัวที่มกั จะใช้ ห้องครัวอยู่เสมอได้ หายไปห้ องครัวก็ไม่ถูกใช้ งานและยูอิจิที่ต้องกลายมาเป็ นผู้
อาศัยคนเดียวในบ้ านหลังนี ้ก็ไม่ได้ ใช้ ห้องครัวสาหรับทาอะไรเลย บรรยากาศการรวมตัวกันในพื ้นที่
ห้ องครัวแห่งนี ้ก็หายไป ตัวละครอย่างยูอิจิก็มีจิตใจที่สบั สนวุ่นวายเฉกเช่นเดียวกับสภาพห้ องครัวใน
บ้ านของเขาตอนนี ้ ตัวละครมิ กะเงะก็ ไ ด้ ลุกขึน้ จัดการทาความสะอาดห้ องครั วบ้ าน ทะนะเบะ
ทังหมดรวมทั
้
งได้
้ ทาอาหารให้ ยอู ิจิเหมือนตอนที่เคยอยู่ที่นี่ โดยพื ้นที่นี ้เหลือเพียงยูอิจิเพียงลาพัง ซึ่ง
ก็เป็ นการบ่งบอกว่าเธอเสียใจกับการจากไปของเอริ โกะ และกาลังเข้ าใจความรู้สึกของยูอิจิดีว่าการ
สูญเสียคนสาคัญในชีวิตอย่างสมาชิกในครอบครัวที่เหลืออยู่คนสุดท้ ายนันท
้ าให้ ร้ ู สึกโดดเดี่ยวและ
สับสนเช่นไร
「……」さっきの真空がふいに言葉にたって頭をよぎる。“雄一がいったら
なにもいらない”それは瞬間のことだったけれど、私はひどく困惑した。あ
まり強く光って目がくらみそうになったからだ。心に満ちてしまう。( 吉本バ
ナナ, 2005, p.86)
(......) ฉับพลันในหัวก็มีสิ่งที่คิดขึ ้นมาจากสิ่งที่อยู่ในใจก่อนหน้ านี ้ว่า “หากมีอยู่อิจิอยู่
ฉันก็ไม่ต้องการอะไรอีกแล้ ว ” มันเป็ นเพียงสิ่งแค่ชวั่ วูบที่แวบผ่านเข้ ามา แต่มนั ชัดเจน
และช่างเปล่งประกายเจิดจ้ าจนตาฉันพร่าพราย. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากในตัวบทข้ างต้ นเป็ นสิ่งที่มิกะเงะคิดในขณะที่ทงคู
ั ้ อ่ ยู่ในครัวทาอาหาร ทาให้ เห็นว่าการที่ยงั คงมี
บุคคลที่ เ ป็ นเสมื อนครอบครั วของเธอเหลื อ อยู่อี กคนอย่างยูอิ จิ นัน้ ทาให้ เธอได้ ต ระหนัก ว่า เธอ
อยากจะเดินไปข้ างหน้ ามีชีวิตอยู่ตอ่ ไป รวมถึงอยากให้ ยอู ิจิร่าเริ งขึ ้นในเร็ ววันเพื่อเป็ นครอบครัวใหม่
ที่มาเติมเต็มกันและกัน
จากข้ างต้ นจะเห็นได้ วา่ บทบาทของพื ้นที่ห้องครัวในบ้ านทะนะเบะก็ยงั คงส่งอิทธิพลต่อชีวิต
ของตัวละคร ซึง่ เสมือนกับการเริ่มต้ นใหม่ในครอบครัวใหม่อีกครัง้ เป็ นการเริ่ มความผูกพันและสร้ าง
ความทรงจาใหม่ ทาให้ ตวั ละครพัฒนาในด้ านทัศนคติในชี วิต พร้ อมยืดหยัดและอยากดาเนินชีวิต
43
ต่อไปโดยมีพื ้นที่ห้องครัวเป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ เหตุการณ์นนมี
ั ้ การดาเนินและเปลี่ยนไปจากห้ องครัวใน
บ้ านเก่าในตอนต้ นเรื่ อง
3.3 บทบำทพืน้ ที่ห้องครัวในสถำบันสอนทำอำหำร
พื น้ ที่ ห้องครั ว นี น้ ับ ว่าเป็ นพื น้ ที่ หนึ่ง ที่ ตัว ละครบอกว่ า เป็ นสถานที่ ที่เธอชอบ แต่มี ค วาม
แตกต่า งจากพื น้ ที่ ห้ อ งครั ว ของบ้ า นทะนะเบะและบ้ า นเก่ า ของเธอเอง พื น้ ที่ นี ไ้ ม่มี ยูอิ จิ ไม่มี มี
เอะริ โกะ ไม่มี ยายของเธอ เธอไม่สามารถปูฟูกนอนข้ างตู้เย็นที่ นีไ้ ด้ ไม่มี โซฟาใกล้ ๆ ห้ องครั วนี ้
สาหรั บเพื่ อ ให้ เ ธอพักผ่อนหลับนอน แต่พื น้ ที่ นีค้ ื อสถานที่ ทางานของเธอ ซึ่ง เธอไม่ ไ ด้ ใช้ พื น้ ที่ นี ้
ทาอาหารให้ บุค คลในครอบครั ว เธอ แต่เ ป็ นพื น้ ที่ ที่เธอจะได้ ใช้ ความสามารถของเธอสอนผู้อื่ น
ทาอาหาร ซึ่งการทาอาหารก็เป็ นสิ่งที่เธอรักด้ วย โดยพื ้นที่ห้องครัวที่สถาบันสอนทาอาหารเป็ นพื ้นที่
ที่ได้ มีบทบาทนาเสนอความแตกต่างระหว่างพื ้นที่ของครอบครัวกับพื ้นที่ที่ตวั ละครสามารถอยู่ได้
ลาพังในสังคม
ก่อนที่เธอจะสามารถใช้ พื ้นที่ห้องครัวนี ้ได้ เธอต้ องผ่านการทดสอบซึ่งไม่ใช่การเชื ้อเชิญเพื่อ
มาในฐานะสมาชิกของครอบครัวแต่ในฐานะลูกจ้ าง อีกทังจากตอนที
้
่ ได้ รับคาสัง่ จากอาจารย์ ในการ
ตระเตรี ยมการสอน และเธอก็ไม่ได้ อาศัยอยู่ที่นี่เมื่อหมดหน้ าที่เธอก็สามารถกลับบ้ านได้ อีกทัง้
สถานที่ทางานทาให้ ตวั ละครต้ องพัฒนาตนเองเสมอเพื่อเป็ นมืออาชีพและตระหนักว่าที่ครัว แห่งนี ้มี
กฎระเบียบที่ ทุกคนต้ องปฏิ บัติ อี กทัง้ เมื่ อตอนที่ แฟนสาวคนก่อนของยูอิจิ เข้ ามาต่อว่าเธอถึง ที่
ทางาน เธอก็ยงั ได้ พยายามรักษาหน้ าที่ในเวลาทางานและไม่นาเรื่ องส่ วนตัวทาให้ สถานที่ทางาน
วุ่นวายด้ วยการให้ แฟนสาวคนก่อนของยูอิจิโทรไปหาเธอที่บ้านในภายหลัง ถึงแม้ เธอจะสบายใจ
หรื ออุ่นใจที่อยู่ในพืน้ ที่ นีแ้ ต่เ ธอไม่สามารถวางตัวให้ สบายเหมื อนอยู่ในพื น้ ที่ห้องครั วที่บ้านหรื อ
แมนชัน่ บ้ านทะนะเบะได้ ยิ่งกว่านันสถานที
้
่แห่งนี ้ทาให้ ตัวละครได้ มีการพัฒนาในด้ านทัศนคติและ
การใช้ ชีวิต นัน่ ก็คือเป็ นพื ้นที่โลกอีกใบนอกจากพื ้นที่ ห้องครัวก่อนหน้ านี ้ที่เข้ ามาในชีวิตของเธอ ทา
ให้ เธอได้ เรี ยนรู้ผ้ คู นรอบ ๆ ตัวจากนิสยั ช่างสังเกตของเธอเอง ไม่ว่าจะเป็ นบรรดาหญิงสาวที่เข้ ามา
เรี ยนทาอาหารที่นี่ หรื อแม้ กระทัง่ เพื่อนร่วมงานของเธอที่ตา่ งมีชีวิตที่แตกต่างจากเธอมาก ที่ว่าหญิง
สาวที่เข้ ามาเรี ยนทาอาหารที่นี่มีชีวิตที่มี ความสุข มีครอบครัวที่ดีครบพร้ อมสมบูรณ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี ้
คนเราไม่สามารถเลือกได้ ทุกคนเกิดมามีชีวิตเป็ นขอตนเอง แต่ความสุขของพวกเธอนันไม่
้ ได้ รับรู้ว่า
ทุกคนล้ วนมีความโดดเดี่ยวด้ วยกันทัง้ นัน้ ซึ่ งเธอคิดว่าชีวิตแบบนัน้ มันก็ดี แม้ บางครัง้ เธอจะรู้ สึก
อิจฉาชีวิตแบบพวกเธอ แต่ตอนนี ้เธอเองก็มีความสุขในแบบที่คนโดดเดี่ยว เช่น เธอมี เ พราะการมี
44
คนที่รับรู้และเข้ าใจในสิ่งที่เธอรู้สึกจึงอยากทาในสิ่งที่ชอบและมีชีวิตอยู่ต่อไป (吉本バナナ, 2005,
p.82-83)
จากข้ างต้ นทาให้ เห็นได้ ว่าบทบาทของพื ้นที่ห้องครั วในส่วนสถาบันสอนทาอาหารได้ ทาให้
เห็นช่วงชีวิตที่เปลี่ยนไปของตัวละคร และยังคงมีผลต่อชีวิตตั วละคร ถึงแม้ จะไม่ได้ เป็ นทางด้ าน
ความผูกพันหรื อการสร้ างความทรงจาที่แนบแน่นแบบครอบครัว แต่ พื ้นที่นี ้มีบทบาทที่ทาให้ สถานะ
ของตัวละครได้ เปลี่ยนไปจากฐานะสมาชิกครอบครัวเป็ นลูก จ้ าง จากนักศึกษาเป็ นคนทางาน ทาให้
ตัวละครได้ เข้ าไปใช้ ชีวิตในพื ้นที่ห้องครัวที่เป็ นสังคมมากขึ ้น รู้ จกั สังเกตคนรอบข้ าง อีกทังยั
้ งทาให้ ตวั
ละครพัฒนาด้ านทักษะการใช้ ชีวิต รวมทังความรู
้
้ ความสามารถในการทาอาหารของเธอเอง
4. ธรรมชำติและควำมหมำยของพืน้ ที่ห้องครัว
ในส่วนนี ้เป็ นการศึกษาธรรมชาติและความหมายของพื ้นที่ห้องครัวว่า พื ้นที่ห้องครัวจะเป็ น
เพียงฉากหรื อเป็ นประธานที่ประหนึ่งเป็ นตัวละครอีกตัว อีกทังให้
้ บรรยากาศอย่างไรแก่เรื่ อง แก่ตวั
ละครด้ วย
4.1 พืน้ ที่ห้องครัวในบ้ ำนมิกะเงะ
พื ้นที่ห้องครัวในส่วนของบ้ านมิคาเกะที่เป็ นพื ้นที่แรกตังแต่
้ เริ่ มเรื่ อง เป็ นจุดกาเนิดของนิสยั
ชื่นชอบห้ องครัวของตัวละครและทาให้ ชีวิตของตัวละครต้ องผกผันเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยเป็ นมาใน
ชีวิต จากการใช้ ภาษาใช้ คาของผู้เขียนทาให้ เห็นว่าพื ้นที่ห้องครัวนี ้เปรี ยบเสมือนเป็ นตัวละครอีกตัว
หนึ่ง ซึ่งดูได้ จากตัวบทว่าพื ้นที่ห้องครัวแห่งนี ้กลายเป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ ตวั ละครโศกเศร้ าและกลายเป็ น
พื ้นที่ของคนแปลกหน้ ายามเมื่อยายของตัวละครตายจากไป เป็ นการบ่งบอกความผูกพันความรัก
และความทรงจาทังหมดของตั
้
วละครที่มีตอ่ ยาย เมื่อสูญเสียยายไปพื ้นที่นี ้ก็ได้ กลายเป็ นเพียงความ
ทรงจาให้ ตวั ละครได้ นกึ ถึงแต่ไม่ได้ อาศัยอยูใ่ นพื ้นที่นนอี
ั ้ กแล้ ว
祖母が死んで、この家の時間も死んだ。私はリアルにそう感じた。もう、私
にはなにもできない。出ていっちゃうことの他にはなにひとつ------思わず、お
じいさんの古時計をずさんでしまいながら、私は冷蔵庫をみがいていた。( 吉
本バナナ, 2005, p.32)
45
เมื่อยายตาย วันเวลาของบ้ านหลังนี ้ก็ตายตามไปด้ วย ฉันรู้สึกได้ ถึงความจริ งนันแล้
้ ว
แต่ฉนั ไม่อาจสามารถจะย้ อนกลับหรื อทาอะไรได้ อีกแล้ ว นอกจากเดินจากไป ขณะแว่ว
ยินเสียงเดินนาฬิกาเรื อนเก่าของตาฉันได้ ลงมือขัดถูต้ เู ย็น. (แปลโดยผู้วิจยั )
จากตัวบทข้ างต้ นก็จะเห็นได้ ชดั เจนว่า พื ้นที่บ้านแห่งนี ้รวมพื ้นที่ห้องครัวที่เป็ นส่วนหนึ่งของบ้ านได้
เป็ นตัวแทนของยายและตา ผู้ซึ่งเป็ นสมาชิกในครอบครัวของเธอที่ได้ ตายจากไปแล้ วจึงทาให้ ทกุ สิ่ง
ทุกอย่างไม่สามารถย้ อนคืนกลับมาได้ รวมทัง้ วันเวลาและชีวิตของทังสองท่
้
านด้ วย อีกทังการขั
้
ดถู
ตู้เย็นในห้ องครัวนันก็
้ เป็ นการขัดสิ่งที่เคยเกิดขึ ้นในที่แห่งนี ้ออกไปเพื่อการเริ่ มต้ นใหม่ และจากนี ้ไป
พื ้นที่นี ้ก็จะกลายเป็ นความทรงจา นอกจากนี ้การฝั นซ ้าถึงพื ้นที่นี ้ของตัว ละครยิ่งเน้ นย ้าว่า พื ้นที่ แห่ง
นี ้เป็ นเสมือนตัวแทนของครอบครัวหรื อความผูกพันทางสายเลือดที่เธอไม่อาจลืมได้ เพียงแต่ต้องรับ
ความจริงว่าเธอไม่อาจจะอยูใ่ นพื ้นที่บ้านหลังนันและใช้
้
พื ้นที่ห้องครัวได้ อีกต่อไปแล้ ว
ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวในบ้ านเก่านี ้ไม่ได้ เป็ นเพียงแค่ฉากเท่านันแต่
้ เปรี ยบเสมือนตัวละครอี ก
ตัวหนึง่ ก็คือ ยายผู้ซงึ่ เป็ นตัวละครที่มีอิทธิพลต่อตัวละครหลักอย่างมิกะเงะเป็ นอย่างมาก
4.2 พืน้ ที่ห้องครัวในแมนชันครอบครัวทะนะเบะ
สาหรับพื ้นที่ห้องครัวส่วนนี ้ก็มิได้ เป็ นเพียงฉากหนึ่งเท่านันที
้ ่เห็นถึงช่วงชีวิตที่เปลี่ยนไปของ
ตัวละคร พืน้ ที่ส่วนนี เ้ ป็ นเป็ นพื น้ ที่ ที่แสดงถึง การเริ่ ม ต้ นใหม่กับครอบครัวใหม่ของตัวละคร จาก
บุคคลแปลกหน้ าอย่างแม่ลูกทะนะเบะ ก็ ได้ กลายเป็ นคนที่ เธอไว้ ใจ อีกทัง้ ตัวเธอเองก็ไ ด้ รับการ
ต้ อนรับในฐานะสมาชิกใหม่คนหนึ่งในบ้ าน โดยเธอไม่ได้ จ่ายเงินตอบแทนเพื่อจะอยู่ในบ้ านหลังนี ้
แต่เธอได้ ใช้ พื ้นที่ห้องครัวนี ้ทาอาหารตอบแทนคนในบ้ านทะนะเบะ ซึ่งพื ้นที่ห้องครัวก็เป็ นฉากที่ช่วย
เสริมความรู้สกึ ความเป็ นครอบครัวขึ ้นมาในบรรยากาศของเรื่ อง
「……」しかし、私は台所を信じた。それに、似ていないこの親子には共通
点があった。笑った顔が神仏みたいに輝くのだ。私は、そこがとてもいいと
思っていたのだ。(吉本バナナ, 2005, p.22)
(......) แต่ทว่าฉันไว้ ใจครั วของพวกเขา แม้ ว่าสองแม่ลูกจะไม่ได้ ดูเหมือนกันนัก แต่
ใบหน้ าที่เปื อ้ นยิ ้มราวกับพระพุทธรูปที่สอ่ งประกายนัน้ ทาให้ ฉันรู้สึกชอบจริ ง ๆ. (แปล
โดยผู้วิจยั )
46
ดังตัวบทข้ างต้ นพื ้นที่ห้องครัวได้ ทาให้ ตวั ละครไว้ ใจบุคคลที่เคยเป็ นคนแปลกหน้ า แต่ ตอนนี ้พวกเขา
ได้ กลายเป็ นครอบครัวใหม่ที่ทาให้ ตวั ละครไว้ ใจและพร้ อมจะเรี ยนรู้ ครอบครัวใหม่ให้ มากขึ น้ อีกทัง้
เมื่อไหร่ก็ตามที่ตวั ละครอยู่ในพื ้นที่ห้องครัวแห่งนี ้จะมีสองแม่ลกู ทะนะเบะหรื อไม่ก็คนใดคนหนึ่งอยู่
ในพื น้ ที่ นี ด้ ้ วย ซึ่ง เมื่ อตอนที่ ตัว ละครเอะริ โ กะผู้เ ป็ นแม่ข องยูอิจิ ต ายไป พื น้ ที่ ห้อ งครั ว แห่ง นี ก้ ็ ดู
หม่นหมองลงและได้ ตายตามตัวละครเอะริ โกะด้ วย ทาให้ พื น้ ที่ ห้องครัวแห่ง นี ไ้ ม่ถูกใช้ ง านและ
สามารถสื่อถึงจิตใจของตัวละครยูอิจิที่เศร้ าโศก สับสนและมึนงงกับการตายของแม่ แต่เมื่อมิกะเงะ
กลับมาเธอก็ได้ ทาความสะอาดและใช้ พื ้นที่นีอ้ ีกครัง้ เพื่อทาอาหารให้ กับสมาชิกบ้ านทะนะเบะที่
ยังคงเหลืออยูอ่ ย่างตัวละครยูอิจิ จึงทาให้ พื ้นที่ห้องครัวแห่งนี ้ค่อย ๆ กลับมีชีวิตขึ ้นอีกครัง้
ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวในแมนชัน่ ครอบครัวทะนะเบะก็ไม่ได้ เป็ นเพียงฉากที่ทาให้ เห็นถึงการ
เปลี่ ย นแปลงในชี วิ ต ของตัว ละครเท่า นัน้ แต่เ ปรี ย บเสมื อ นตัว ละครอี ก ตัวหนึ่ง อย่างเอะริ โกะที่
มิกะเงะได้ ผูกพันในฐานะครอบครัว เมื่อเอะริ โกะได้ ตายจากไปห้ องครัวก็ตายลงไปด้ วย และเป็ น
ตัวแทนของยูอิจิ ซึ่งห้ องครัวได้ กลับมามีชีวิตอีกครัง้ เมื่อเธอได้ ใช้ วนั เวลาร่วมกันกับเขาผู้เป็ นสมาชิก
ที่ยงั เหลืออยูอ่ ีกคน
4.3 พืน้ ที่ห้องครัวในสถำบันสอนทำอำหำร
สาหรับพืน้ ที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหารเป็ นพืน้ ที่ที่มิกะเงะไม่ได้ มีความผูกพันทาง
สายเลือดหรื อแบบครอบครัวกับตัวละครอื่นใดในพื ้นที่นี ้ แต่เธออยู่ในพื ้นที่นี ้ในฐานะคนทางาน และ
ในฐานะเพื่อนร่ วมงาน เป็ นพื ้นที่ที่ตวั ละครมิกะเงะต้ องปรับตั วเพื่ออยู่ในพืน้ ที่นี ้โดยไม่มีบุคคลใน
ครอบครัว เป็ นพื ้นที่ที่เป็ นฉากทาให้ ตวั ละครมีการกระทาที่ต่างไปจากในพื ้นที่ห้องครัวที่บ้านทะนะ
เบะและบ้ านเก่า ซึง่ พื ้นที่นี ้ได้ มีตวั ละครอื่นมากมายเพิ่มเข้ ามามากขึ ้น ตัวละครปฏิบตั ิตอ่ คนในพื ้นที่
นี ้ต่างกัน เช่น ในฐานะลูกจ้ าง ในฐานะเพื่อนร่วมงาน ในฐานะผู้สอน เป็ นต้ น
ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหารแห่งนี ้เป็ นพื ้นที่ที่เป็ นฉากแสดงถึงชีวิตของตัว
ละครที่ดาเนินต่อไปในสังคม รวมทังที
้ ่แห่งนี ้ไม่ได้ เป็ นตัวแทนของตัวละครอื่นใดที่ตวั ละครมิกะเงะ
ผูกพันมาก่อน
47
5. ห้ องครัวในฐำนะภำพลักษณ์ ของโลกทัศน์ ของผู้แต่ ง
ในส่วนนี ้ผู้วิจยั ได้ ศกึ ษาถึงความหมายในรูปนามธรรมของพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ องนี ้ว่าผู้เขียน
ได้ ใช้ พื ้นที่ห้องครัวเพื่อสื่อถึงสิ่งใดบ้ าง ซึ่งเป็ นการศึกษาวิเคราะห์จากข้ อที่ 1จนถึงข้ อที่4 เพื่อหาสิ่งที่
ซ่อนอยู่ในพื ้นที่ห้องครัวในโลกทัศน์ของผู้เขียน โดยจะได้ จดั แสดงตารางสรุ ปแต่ละข้ อจาก1-4ในแต่
ละพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ อง คิ ทเช่น ดังต่อไปนี ้
พื ้นที่ห้องครัว
บ้ านมิคาเกะ(บ้ านเก่า)
แมนชันครอบครัวทานาเบ้ สถาบันสอนทาอาหาร
หัวข้ อการศึกษา
1.ที่ตงและบริ
ั้
เวณ
บ้ านแบบญี่ปนใน
ุ่
เป็ นห้ อง LDK ในแมนชัน สถาบันมีชื่อเสียงที่มี
โดยรอบ
อพาร์ ตเม้ นต์
บทตึกสูงชัน้ 10
พื ้นที่กินทัว่ ทังชั
้ นของ
้
ตึก
2.การนาเสนอห้ องครัว นาเสนอภาพความสุขเมื่อ นาเสนอภาพชีวิตแม่ลกู ทา นาเสนอภาพพื ้นที่
ยายยังมีชีวิตอยูแ่ ละความ นาเบ้ และการเริ่มต้ นใหม่
สังคมอื่นที่ไม่ใช่แบบ
เศร้ าเสียใจเมื่อยายจากไป
ครอบครัว
3.บทบาทของพื ้นที่
สิ่งแวดล้ อมในชีวิตของตัว เริ่มต้ นกับครอบครัวใหม่
ทาให้ ตวั ละครเปลี่ยน
ห้ องครัวกับตัวละคร
ละครและสาเหตุของ
สถานะกลายเป็ นบุคคล
ความโดดเดี่ยว
4.ธรรมชาติและ
ความหมายของพื ้นที่
ห้ องครัว
ตัวแทนของยาย
และได้ รับการเติมเต็ม
หนึง่ ที่ใช้ ชีวิตในสังคม
ตัวแทนของแม่ลกู ทานาเบ้ ฉากของสังคม
48
จากตารางแสดงผลการศึกษาทัง้ 4 หัวข้ อ ทาให้ เห็นถึงนัยยะความหมายของห้ องครัวที่
ผู้เขียนต้ องการจะสื่อ โดยจะเห็นได้ วา่ พื ้นที่ห้องครัวในบ้ านของตัวละครมิกะเงะและพื ้นที่ห้องครัวใน
แมนชัน่ ของบ้ านทะนะเบะมีความแตกต่างจากพื ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหาร โดยในตัวบท
ผู้เขียนได้ ใช้ คาว่าห้ องครัว (台所) ในขณะที่ตวั ละครมิกะเงะอยู่ในพืน้ ที่บ้านของตนเองและบ้ าน
ทะนะเบะ แต่ใ นขณะที่ อ ยู่ใ นพื น้ ที่ ห้ อ งครั ว ของสถาบัน สอนท าอาหารจะใช้ ค าว่า ห้ อ งส าหรั บ
ทาอาหาร หรื อห้ องปฏิ บัติการอาหาร ( 調理室) ซึ่งตรงจุดการใช้ คานี ไ้ ด้ เน้ นยา้ ให้ เห็นว่าผู้เขี ยน
ต้ องการแยกความหมายของพื ้นที่ห้องครัวจาก 3 พื ้นที่นี ้อย่างชัดเจน โดยห้ องครัวที่มีส่วนผูกพันอยู่
กับชีวิตของตัวละครมากที่สุดคือ พื ้นที่ห้องครัวในรูปแบบครอบครัว ซึ่งในตัวบทก็คือ พื ้นที่ห้องครัว
ในบ้ านของตัวละครมิ กะเงะเองและในแมนชั่นของครอบครัว ทะนะเบะ หากสังเกตจากตาราง
แสดงผลแล้ วทาให้ เห็นว่าการศึกษาพื ้นที่ห้องครัวตังแต่
้ ข้อ 1-4 ตัวละครมักจะมีชีวิตที่มีความสุขเมื่อ
มีสมาชิกอยู่ในพืน้ ที่ห้องครัวด้ วยกัน แต่หากเมื่อมีสมาชิกคนหนึ่งคนใดต้ องตายจากไปตัวละคร
มักจะมี ความเศร้ าเสี ยใจและโหยหาสมาชิกที่จ ากไป เพราะเมื่อยามที่มี สมาชิ กในครอบครั วอยู่
ด้ วยกันกับตัวละคร พื ้นที่ห้องครัวนันนอกจากจะเป็
้
นที่ที่เธอได้ ทาอาหารแล้ วเธอยังได้ ใช้ วนั เวลาอยู่
ร่วมกันพร้ อมหน้ าพร้ อมตากับสมาชิกทุกคนในครอบครัวจึงทาให้ ตวั ละครรู้ สึกว่าชีวิตของเธอได้ รับ
การเติมเต็ม และได้ เปลี่ยนทัศนคติในการใช้ ชีวิตด้ วย จึงสามารถสรุปความหมายของพื ้นที่ห้องครัวที่
ผู้เขียนต้ องการสื่อได้ ก็คือ “พืน้ ที่ของครอบครั ว” ซึ่งห้ องครัวในที่นี ้ไม่ได้ รวมไปถึงห้ องปฏิบตั ิการ
อาหารในสถาบันสอนทาอาหาร แต่เป็ นพืน้ ที่ที่เป็ นส่วนหนึ่งของบ้ าน มีสมาชิกในบ้ านอยู่ร่วมกัน
และมีความสัมพันธ์ กันในรู ปแบบของครอบครัว โดยสมาชิกจะเป็ นสายเลือดที่แท้ จริ งหรื อไม่ใช่ก็
ตาม แต่หากเมื่อใดก็ตามที่อยู่ในพื ้นที่ห้องครัวแล้ ว ตัวละครที่ร้ ู สึกโดดเดี่ยวจะได้ รับความสุขและ
ได้ รับการเติมเต็มในพืน้ ที่นนเสมอ
ั้
ซึ่งการสรุ ปว่าห้ องครัวในสถาบั นสอนทาอาหารไม่ได้ รวมไว้ ใน
พื ้นที่ห้องครัวนัน้ นอกจากจะเป็ นเพราะการใช้ คาของผู้เขียนแล้ ว จากผลการศึกษาทัง้ 4 หัวข้ อก็ยงั
ทาให้ เห็นว่าพื ้นที่ห้องครัวในสถาบันสอนทาอาหารเป็ นเพียงฉากหนึ่งในสังคม ดังจะเห็นได้ ว่าตัว
ละครในพื ้นที่นนไม่
ั ้ ได้ สมั พันธ์กนั ในรูปแบบสถาบันครอบครัวอันเป็ นหน่วยย่อยเล็กที่สดุ ในสังคม จึง
ทาให้ “พื ้นที่ของครอบครัว” ในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น มีเพียงพื ้นที่ห้องครัวในบ้ านของมิกะเงะและ
พื ้นที่ห้องครัวในแมนชัน่ ของครอบครัวทะนะเบะ
จากการที่ผ้ วู ิจยั ได้ ศกึ ษาทัง้ 5 หัวข้ อตามแกนหลัก 5 ประการของโรลองด์ บูร์เนิ ฟแล้ ว ทา
ให้ เห็นว่าพื ้นที่ห้องครัวได้ นาเสนอแก่นเรื่ องความโดดเดี่ยวของชีวิตแบบหนึ่งท่ามกลางสังคมญี่ ปนุ่
ซึง่ แก่นเรื่ องนี ้ไม่ได้ ทาให้ เห็นเพียงสังคมญี่ปนเท่
ุ่ านันแต่
้ อาจจะเหมือนกันกับสังคมสากลอื่นทัว่ โลกที่
49
เกิดขึ ้น โดยผู้เขียนได้ ใช้ พื ้นที่ห้องครัวที่เปรี ยบเสมื อนพืน้ ที่ของครอบครัว ซึ่งเป็ นสถาบันหนึ่งของ
สังคมอันเป็ นจุดกาเนิด ทาให้ โครงเรื่ อง การกระทา ความรู้ สึกของตัวละครหลักดาเนินไป และมี
ความสัมพันธ์กนั กับตัวละครอื่น ทาให้ เห็นภาพชีวิตที่สะท้ อนให้ เห็นถึงสาเหตุของการโดดเดี่ยวของ
ตัว ละคร และอะไรคื อหนทางที่ ท าให้ ค นที่ มี ชี วิ ต โดดเดี่ย วเช่น นัน้ ใช้ ชี วิ ตด าเนิ น ต่อ ไป พวกเขา
เหล่านัน้ มีทศั นคติอย่างไร ซึ่งทาให้ เห็นว่าตัวละครหลักที่ร้ ู สึกโดดเดี่ยวนัน้ ต้ องการผู้ที่สามารถจะ
เข้ าใจและสามารถเติม เต็มความโดดเดี่ยวของพวกเขาได้ โดยบุคคลนัน้ ไม่จาเป็ นว่าจะต้ องเป็ น
บุคคลในครอบครัวที่เกี่ยวพันธ์ทางสายเลือดหรื อมาจากครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ
50
บทที่ 4 วิเครำะห์ ควำมสัมพันธ์ ของพืน้ ที่ห้องครั วและแก่ นเรื่ อง
จากผลการศึก ษาในตัว บทของวรรณกรรมเรื่ อ ง คิ ท เช่ น ท าให้ เ ห็ น ว่ า พื น้ ที่ ห้ อ งครั ว มี
ความสาคัญไม่เพียงเป็ นแต่ฉากเท่านัน้ แต่ยงั มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ในเรื่ องและ
ในการนาเสนอภาพตัวละครหลักอีกด้ วย ซึ่ง ในบทที่ 3 ได้ สรุปว่าพื ้นที่ห้องครัวที่ โยะชิโมะโตะ บะ
นะนะ ต้ องการสื่อถึงนันเป็
้ น “พืน้ ที่ของครอบครั ว” ซึ่งพื ้นที่นี ้ได้ มีอิทธิพลต่อตัวละครหลักในหลาย
ๆ ครัง้ ดังนันพื
้ ้นที่ห้องครัวจึงต้ องมี ความสาคัญ กล่าวคือเป็ นสิ่งหนึ่งที่ทาให้ ผ้ อู ่านสามารถมองเห็น
ถึงแก่นของเรื่ องที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะสื่อได้ ดียิ่งขึ ้น โดยในบทนี ้ผู้วิจยั จะได้ นาเสนอความสัมพันธ์ของ
พื ้นที่ห้องครัวในเรื่ อง คิ ทเช่น กับแก่นของเรื่ องนี ้ ไว้ ดงั นี ้
1. แก่ นเรื่อง
จากงานวิ จัยที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ มี ผ้ ูวิ จัย ได้ ศึก ษาเกี่ ย วกับ วรรณกรรมเรื่ อ ง คิ ท เช่ น ไว้ อ ย่า ง
หลากหลาย ซึง่ แต่ละท่านก็ได้ พิจารณาและค้ นหาสิ่งที่น่าสนใจในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น แตกต่าง
กันไป อาทิเช่น
จากงานวิจยั ของ อัจฉรา เหมวรางค์กลู เรื่ อง ตัวละครเอกหญิงในนวนิยายเรื่ องคิทเช่น ที่ได้
มุ่งเน้ นศึกษาและวิเคราะห์ลกั ษณะของตัวละครเอกหญิง ซะกุระอิ มิกะเงะ ว่ามีพืน้ ฐานชีวิตเป็ น
อย่างไรและมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อพบกับความตายของคนในครอบครัว โดยจะศึกษา
จากความสัมพันธ์กบั ตัวละครอื่น ๆ ในเรื่ อง โดยผลการวิจยั คือ ความตายของคนในครอบครัวทาให้
ตัวละครเอกมีความสับสนและสิ ้นหวังในชีวิต แต่อีกด้ านหนึง่ ความตายก็เป็ นสิ่งที่ทาให้ ตวั ละครเอก
ตระหนักถึง คุณ ค่าของชี วิตด้ วย และพื น้ ที่ ห้องครั วก็ เป็ นสิ่ง ที่ ท าให้ ตัวละครคลายความโหยหา
ครอบครัว กล่าวคือ เป็ นสิ่งที่แทนภาพของย่าหรื อครอบครัวให้ แก่ตวั ละคร (อัจฉรา เหมวรางค์กูล,
2555)
นอกจากนี ้ในงานวิจยั ของ ซะซะงะวะ โยโกะ (笹川洋子) ได้ กล่าวว่า ในเรื่ อง คิ ทเช่น ว่ามี
มุมมองของ Gender free ในตัวละคร ซึ่งตัวละครแต่ละตัวทาหน้ าที่ของตัวเองได้ ดี ในขณะที่ยงั คง
รักษาระบบ Gender ในแบบดังเดิ
้ มไว้ พร้ อมกับมีความเท่าเทียมกัน ซึ่งไม่เกี่ยวว่าเป็ นชายหรื อหญิง
51
ที่ จ ะต้ องทาในสิ่ ง นัน้ ได้ โดยวิเ คราะห์ ศึก ษาจากการกระทาของตัวละครในเรื่ อง อาทิเช่น การ
ทาอาหารของมิกะเงะนันไม่
้ ได้ ทาไปเพราะเป็ นหน้ าที่ที่ผ้ ูหญิงควรจะทาเท่านัน้ แต่เป็ นเพราะเธอ
สามารถใช้ สิ่งนี ้เยียวยารักษาจิตใจที่ต้องเผชิญหน้ ากับความสิ ้นหวัง ซึ่งสิ่ง นี ้ได้ เหมือนกับการที่เอริ
โกะรู้ สึกอยากเปลี่ยนตัวเองเป็ นผู้หญิ ง หลังจากรู้ สึกเศร้ าเสียใจกับการตายของภรรยา และการ
ช่วยเหลือกันและกันของยูอิจิและมิกะเงะให้ พ้นจากความทุกข์เศร้ าในชีวิตหลังคนในครอบครัวตาย
ไป ก็เป็ นการเท่าเทียมกันระหว่าง Gender25
ดังวิจยั ข้ างต้ นที่ไ ด้ ยกกล่าวมาแล้ วนัน้ ไม่ว่าจะมองในมุมของชีวิตตัวละครหรื อการกระทา
ของตัวละคร จะพบว่าตัวละครได้ พยายามหาทางออกในชีวิตหลังเผชิญกับความตายของคนใน
ครอบครั ว และเมื่ อได้ ม าเจอกับตัว ละครอื่ น ๆ ในครอบครั ว ทะนะเบะ จึง ท าให้ ตัว ละครมี ก าร
เปลี่ยนแปลงในชีวิต ซึง่ นามาสูค่ วามหวังในชีวิตจนในที่สดุ ก็สามารถยืนหยัดและต่อสู้กบั ความทุกข์
ในชีวิตได้ ซึง่ อาจจะสรุปได้ วา่ สิ่งนี ้เป็ นแก่นเรื่ องที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะสื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ ขบคิดโดยเล่าผ่าน
ความเป็ นไปของตัวละคร สถานการณ์ และพื ้นที่ห้องครัวที่เป็ นทังชื
้ ่อเรื่ องและพื ้นที่หนึ่งในเรื่ องที่มี
อิทธิพลกับตัวละครหลัก
2. ควำมหมำยของพืน้ ที่ห้องครัวสำหรับตัวละครกับกำรเปลี่ยนแปลงของตัวละคร
2.1 พืน้ ที่ท่ ตี ัวละครเรี ยนรู้ เรื่ องชีวิตและควำมตำย
ดังที่ในบทที่ 3 ได้ สรุ ปไว้ ว่าความหมายนามธรรมของพื ้นที่ห้องครัวสาหรับตัวละครนัน้
ไม่ได้ หมายถึงเพียงแค่สถานที่ทาอาหารเท่านัน้ แต่หมายถึงพื ้นที่ของครอบครัว เป็ นเสมือนตัวแทน
ของครอบครัว ซึง่ ในตอนแรกเริ่ ม พื ้นที่ห้องครัวสาหรับตัวละครหลักมิกะเงะแล้ วคือ ตาและยาย จน
ในที่สุดเมื่อผ่านไปคนในครอบครัวก็ค่อย ๆ เสียชีวิตตายจากไป จนทาให้ ตวั ละครกลายเป็ น “เด็ก
กาพร้ า” (孤児) กล่าวคือ พื ้นที่ห้องครัวเป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ ตวั ละครได้ เริ่ มตระหนักถึงเรื่ องความตาย
ของคนในครอบครัว
25
笹川洋子、「吉本ばなな『キッチン』における言語行為について 統合されるジェンダー」、親和國文
第 37 号、2002 年、p.86-111
52
จากผลการศึกษาในตัวบทจะเห็นแล้ วว่าตัวละครได้ พยายามให้ ตวั เองพ้ นจากความทุกข์
ระทมใจในการจากไปของยาย โดยใช้ เสี ย งของตู้เ ย็น และเห็นว่าตัวละครนัน้ ไม่ต้องการสิ่ ง ใด
นอกจากต้ องการใช้ ชีวิตไปโดยไร้ ความหวังจากประโยคที่ว่า ”เพียงต้ องการนอนหลับภายใต้ หมู่ดาว
และตื่นขึ ้นมาท่ามกลางแสงสว่างของยามเช้ า ” นอกจากนี ้ในขณะที่มิกะเงะได้ กลับจากการขนย้ าย
ของจากบ้ านเก่าแล้ ว ได้ ร้องไห้ เสียใจกับการสูญเสียทุกคนในครอบครัวไป แต่เธอก็ร้ ู สึกร่ าเริ งขึน้
อย่างประหลาดเมื่อนึกถึงห้ องครัว และได้ พดู ประโยคไว้ ว่า “ฉันวิงวอนต่อพระผู้เป็ นเจ้ า...ได้ โปรดให้
ฉันมีชีวิตอยูต่ อ่ ไปด้ วยเถิด” (吉本バナナ, 2005, p.50) ซึ่งอาจจะตีความได้ สองทางว่าเธอสามารถ
ตระหนักได้ วา่ ไม่วา่ เด็กหรื อคนแก่ก็ไม่อาจหนีพ้นความตายได้ ทกุ คนย่อมเกิดและสักวันย่อ มตายไป
แต่อีกด้ านหนึง่ อาจจะตีความตรงกันข้ ามได้ ว่าตัวละครนันยั
้ งคงไม่สามารถยอมรับว่าความตายเป็ น
เรื่ องธรรมชาติของมนุษย์ทกุ คน จึงยังคงคิดว่าความตายเป็ นเรื่ องน่ากลัวจึงต้ องขอร้ องและวิงวอน
ต่อพระเจ้ า นอกจากนี ้เมื่อตัวละครมิกะเงะได้ ย้ายเข้ าไปอยู่ในบ้ านทะนะเบะแล้ ว ตัวละครเอะริ โกะก็
ได้ กลายเป็ นบุคคลสาคัญของเธอเปรี ยบกับบุคคลในครอบครัว แต่เมื่อตัวละครเอะริ โกะได้ เสียชีวิต
ตายจากไปอีกคน ตัวละครมิกะเงะก็ไม่ได้ เศร้ าเสียใจจนไม่สามารถใช้ ชีวิตโดยไร้ ความหวัง แต่กลับ
ยิ่งตระหนักถึงสัจธรรมชีวิตได้ ชดั เจนมากขึ ้น ที่ว่าไม่ว่าอย่างไรสั กวันหนึ่งคนเราจะต้ องตายไปไม่ว่า
จะตนเองหรื อคนสาคัญในชีวิต
จากการวิ เ คราะห์ แ ละตี ความนัน้ ทาให้ เ ห็ นว่าพื น้ ที่ ห้ อ งครั วที่ เ ป็ นตัวแทนของยายและ
ครอบครัวที่แท้ จริ ง เมื่อสูญเสียคนในครอบครัวทาให้ เธอทุกข์และเศร้ าใจจนไร้ ความหวังในชีวิต จน
ทาให้ อยากจะใช้ ชีวิตโดยไร้ จดุ หมายและตายไปเท่านัน้ อันเนื่องมาจากผู้วิจยั เห็นว่า การที่ผ้ เู ขียนใช้
พื ้นที่ห้องครัวจะทาให้ เห็นพื ้นที่ของความเป็ นครอบครัวชัดเจนมากขึ ้น เป็ นพื ้นที่ที่สมาชิกทุกคนใน
บ้ านจะมารวมตัวกันจึงทาให้ เกิดการมีปฏิสมั พันธ์กนั หรื อที่เรี ยกว่าความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ซึ่ง
เมื่อเมื่อมนุษย์เราที่เป็ นสัตว์สงั คมนันได้
้ ขาดคนมาปฏิสมั พันธ์ด้วยหรื อไม่มีคนให้ พึ่งพิง จึงทาให้ ร้ ูสึก
เคว้ งคว้ างสับสนและรู้ สึกไม่ปลอดภัยในชีวิต แต่ในขณะเดียวกันผู้เขียนก็ไม่ได้ สร้ างให้ ตวั ละครมิ
กะเงะเป็ นตัวละครที่สิ น้ หวังเสี ยทีเดียว เธอยัง คงพยายามหาหนทางในการใช้ ชีวิตต่อไปอย่างมี
ความหวัง เพี ย งแต่ยัง ไม่มี แ รงผลัก ดัน ให้ ก้ า วเดิน ต่อ ไปอย่า งที่ ห วัง ซึ่ง ต่า งจากตอนที่ ไ ด้ พ บกับ
ครอบครัวทะนะเบะ ซึ่งในจุดนี ้จะเห็นได้ อีกอย่างหนึ่งว่าการตระหนักถึงเรื่ องความตายของคนใน
ครอบครัวเป็ นจุดเริ่ มต้ นในการเปลี่ยนแปลงในชีวิตของตัวละครเองที่จ ะได้ ค้นหาทางออกให้ กบั ชีวิต
ของตนเอง
53
2.2 พืน้ ที่กำรทำหน้ ำที่ให้ -รั บ ของตัวละครหลักกับสองแม่ ลูกทะนะเบะ
ในงานวิ จั ย ของ เอะงุ ส ะ มิ ท์ สึ โ กะ ( 江種満子) เรื่ อ ง 『台所と文学研究と』ซึ่ ง เป็ น
การศึ ก ษาพื น้ ที่ ห้ องครั ว ในงานวรรณกรรม ได้ กล่ า วไว้ ว่ า ในความหมายเดิ ม นั น้ ห้ องครั ว
เปรี ยบเสมือนพื ้นที่ของผู้หญิงเพียงเท่านันแต่
้ ในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น นันพื
้ ้นที่ห้องครัวไม่ได้ เป็ น
พื ้นที่ที่ตวั ละครได้ ทาหน้ าที่ผ้ ูหญิงแบบดังเดิ
้ มในฐานะภรรยาหรื อคนทาอาหารเท่านัน้ ซึ่งเป็ นการ
ปฏิวตั ิความหมายใหม่ที่สื่อถึงความเป็ นสตรี นิยม (Feminism) ในงานวรรณกรรม ดังจะเห็นได้ จาก
การทาอาหารของตัวละครมิ กะเงะที่ ไ ด้ พัฒ นาจนกลายเป็ นอาชี พ ของเธอ อันนาไปสู่การเลื อก
ดาเนินชีวิตในทางของตนเองโดยการตัดสินใจของเธอเอง 26 ซึ่งหากมองจากการกระทาของตัวละคร
มิกะเงะที่ได้ ใช้ วนั เวลาในพื ้นที่ห้องครัวของบ้ านทะนะเบะแล้ ว ผู้วิจยั เห็นว่าตัวละครไม่ได้ ทาเพราะ
สิ่ ง นัน้ คือ หน้ า ที่ ที่ ต้ องทา กล่าวคื อการให้ แ ละรั บในพื น้ ที่ ห้ องครั ว ของตัว ละครเป็ นไปเพื่ อ สร้ าง
ความสัม พันธ์ แบบครอบครั ว จึง ไม่ไ ด้ มี การบัง คับจากบ้ านทะนะเบะว่าตัวละครจะต้ อ งทา แต่
กลับกันตัวละครได้ เสนอด้ วยความเต็มใจ ดังจะเห็นได้ จากการที่ตวั ละครมิกะเงะได้ อาสาทาอาหาร
เช้ าให้ เอะริโกะหลังผ่านคืนแรกที่มาอาศัยในบ้ านทะนะเบะ (吉本バナナ, 2005, p.25)
นอกจากนี ้ในงานวิจยั ของซะซะงะวะ โยโกะ ได้ กล่าวว่าการกระทาให้ และรับของตัวละคร
นันคื
้ อการสมดุลกันของเพศ ดังนี ้
「キッチン」は、たった一人の肉親である祖母をなくしたみかげが、雄一
という青年と美しい母(実は父親)えり子さんのもとに引き取られ、二人
のやさしさに生きる力を取り戻していく、みかげの絶望と再生の物語であ
る。続編の「満月ーキッチン 2」は、雄一がえり子さんの突然の死で絶望
の淵に追いやられるという状況で、みかげが雄一を救う、雄一の再生の物
語として描かれている。この物語は対になっているわけだが、この「助
力」という行為に関わるスクリプトを確認する時点で、読者は対等に扱わ
れるジェンダーを感じることができる。
(笹川洋子, 2002, p.91)
จากข้ างต้ นซะซะงะวะ ได้ กล่าวว่าในช่วงแรกนั น้ ตัวละครยูอิจิได้ ช่วยให้ ตวั ละครมิกะเงะให้ ชีวิต
กลับมามีความหวังอีกครัง้ หลังจากสูญเสียยายซึ่งเป็ นสมาชิกครอบครัวคนสุดท้ ายไป และในทาง
ตรงกันข้ ามในบทพระจันทร์ เต็มดวง (満月) จากการตายกะทันหันของตัวละครเอริ โกะ กลับเป็ น
ฝ่ ายตัวละครมิกะเงะเองที่ได้ ช่วยให้ ยอู ิจิมีกาลังใจและอยากเริ่ มต้ นชีวิตใหม่ในที่สดุ ซึ่งสิ่งนี ้สามารถ
26
江種満子(1988)、『台所お文学研究と』、『日本近代文学』第 38 集、p.113
54
ทาให้ ผ้ อู ่านรู้ สึกถึงความสมดุลทางเพศได้ ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าการให้ และรับในเรื่ อง คิ ทเช่ น ไม่ได้ เป็ น
เพียงมุมมองของการเป็ นอิสระทางเพศเท่านัน้ แต่สาเหตุในการที่ตวั ละครได้ กระทาการให้ และรับ
ต้ องมาจากการที่ตวั ละครต้ องการเป็ นส่วนหนึ่งในครอบครัว จึงต้ องการสร้ างความสัมพันธ์ ใกล้ ชิด
แบบครอบครัว โดยการกระทาที่ให้ นนไม่
ั ้ ได้ เติมเต็มตัวละครเพียงแค่สิ่งของทางวัตถุเท่านัน้ (เช่น
การทาอาหารของมิกะเงะให้ กับครอบครัวทะนะเบะแทนการจ่ายเงินค่าต่าง ๆ ในบ้ านในขณะที่มา
อาศัยด้ วย) แต่ยงั เป็ นการเติมเต็มทางจิตใจ ไม่ว่าจะเป็ นการหวังดี ความจริ งใจ ที่ทงสามตั
ั้
วละครมี
ต่อกัน จนทาให้ ในตอนแรกจากที่ตวั ละครมิกะเองที่ร้ ูสึกเป็ นคนแปลกหน้ าสาหรับบ้ านทะนะเบะ แต่
ในท้ ายที่สุดแล้ วก็ร้ ู สึกได้ ถึง ความอบอุ่นและเป็ นกันเองจากทัง้ สองแม่ลูก ซึ่งก็เป็ นอี กครัง้ ที่ พืน้ ที่
ห้ องครัวได้ มีอิทธิ พลกับตัวละคร เพราะทุกครัง้ ที่ตวั ละครได้ เกิดการให้ และรับนัน้ มักจะเป็ นพืน้ ที่
ห้ องครัวในบ้ านทะนะเบะเสมอ ดังที่กล่าวไว้ แล้ วว่าผู้วิจยั เห็นว่าการใช้ พื ้นที่ห้องครัวนี ้จะทาให้ เห็นถึง
การมี ปฏิ สัม พันธ์ และเกิ ด การสร้ างความสัม พันธ์ ระหว่า มนุษย์ มากกว่า พื น้ ที่ ส่ว นตัว อาทิเ ช่น
ห้ องนอน เป็ นต้ น โดยผู้วิจยั เห็นว่าสาเหตุที่ทาให้ ตวั ละครมิกะเงะและครอบครัวทะนะเบะได้ สร้ าง
ความสัมพันธ์นนเพื
ั ้ ่อลดความวิตกกังวลอันเกิดจากความรู้สึกไม่ปลอดภัยเมื่อต้ องอยู่อย่างโดดเดี่ยว
อีกทังเมื
้ ่อครอบครัวทะนะเบะได้ รับรู้เรื่ องราวชีวิตของตัวละครมิกะเงะ ทังสองแม่
้
ลกู จึงได้ เห็นถึงการ
มีส่วนคล้ ายคลึงกัน อาทิเช่น โครงสร้ างของครอบครัวที่ไม่ได้ สมบูรณ์พร้ อมและได้ สญ
ู เสียบุคคลใน
ครอบครัวไปก็ทาให้ เป็ นจุดดึงดูดทาให้ ฝ่ายบ้ านทะนะเบะ คือตัวละครยูอิจิได้ เป็ นฝ่ ายเสนอความ
ช่วยเหลือหลังจากยายมิกะเงะเสียชีวิตแล้ วด้ วยการชวนมาพักอาศัยอยู่ด้วยกันและตัวละครเอริ โกะ
ที่ได้ เล่าประสบการณ์ชีวิตของตนเองเพื่อเป็ นแรงผลักดันให้ กบั ตัวละครในการชีวิตต่อไป จึงทาให้ ก่อ
เกิดเป็ นความสัมพันธ์ขึ ้นมาจนสามารถต่างเติมเต็มและเข้ าใจกันและกันได้
นอกจากนี ้ ในงานวิจัยของ อิจิโระ ซะกะอิ (酒井一郎) ได้ กล่าวถึงลักษณะของครอบครัว
ของ มิกะเงะไว้ ว่า ครอบครัวของเธอไม่ได้ เป็ นครอบครัวเดี่ยวทัว่ ไป (核家族) ที่มีสมาชิก 3ส่วน
ที่สมั พันธ์กนั ในรูปแบบ พ่อแม่ลกู (父一母一子) แต่เป็ นแบบครอบครัวที่ประกอบไปด้ วยสมาชิกที่มี
ความต่างอายุ 3 คน นัน่ คือ ตายายหลาน (祖父一祖母一孫) จนกระทัง่ เหลือเพียง ยายหลานใน
ท้ ายที่สดุ ซึง่ การที่ครอบครัวของมิกะเงะเป็ นเช่นนี ้จึงทาให้ เกิดระยะห่างขึ ้นได้ 27
27
酒井一郎(1997)、『キッチン』のテクストで〈家族〉を考える(II)、『聖カタリナ女子短期大学紀要』第
p.15
30 号、
55
ซึง่ ในการให้ และรับระหว่างตัวละครในพื ้นที่ห้องครัวนี ้ทาให้ เห็นว่าตัวละครมิกะเงะได้ เรี ยนรู้
คานิยามใหม่ของคาว่าครอบครั วสาหรับตัวเอง ซึ่งต่างจากที่คนทัว่ ไปมอง ไม่ว่าจะเป็ นครอบครัว
ของโซทะโระเพื่อนชายคนเก่าและครอบครัวของเพื่อนที่ทางาน จากประสบการณ์ที่ได้ ใช้ ชีวิตอาศัย
อยู่ร่วมกันกับสองแม่ลูกทะนะเบะว่า ครอบครัวไม่จาเป็ นต้ องมี พ่อแม่ลูกครบ แต่ไม่ว่าจะอาศัย
ร่วมกับใครในพื ้นที่นนหากรู
ั้
้ สกึ ปลอดภัยและไว้ ใจแล้ วที่ตรงนันก็
้ คือ ครอบครัว สาหรับเธอ จึงทาให้
การรับและให้ ได้ เติมเต็มทังตั
้ วเธอเองและยูอิจิด้วยถึงแม้ ว่าจะมีสมาชิกในครอบครัวไม่ได้ สมบูรณ์
พร้ อมก็ตาม ซึ่งครอบครัวใหม่นี ้ก็เป็ นอีกหนึ่งแรงผลักดันนอกจากการสูญเสียของคนในครอบครัวที่
มีส่วนช่วยให้ ตวั ละครมุ่งมัน่ หาหนทางในการดาเนินชีวิตต่อไปบนโลกนี ้ นาไปสู่การมีความหวังใน
ชีวิตและยืนหยัดที่จะต่อสู้กบั ความสิ ้นหวังในชีวิตให้ ได้
3. ควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงแก่ นเรื่องและห้ องครัว
จากการเปลี่ยนแปลงของตัวละครในพืน้ ที่ห้องครัว ทาให้ เห็นถึงพัฒนาการของตัวละคร
โดยพื ้นที่ห้องครัวมีสว่ นให้ ตวั ละครมีปฏิสมั พันธ์กบั คนในครอบครัว เนื่องจากพื ้นฐานครอบครัวของ
ตัวละครแล้ วคือ ไม่ได้ มีครอบครัวที่สมบูรณ์ แต่จะเห็นได้ ว่าตัวละครไม่ได้ ต้องการครอบครัวตามที่
สังคมมองเห็น ซึ่งตัวละครได้ มีความคิดต่างออกไปหลังจากที่ได้ สญ
ู เสียคนในครอบครัวที่แท้ จริ งไป
ทัง้ หมด โดยการได้ เ ริ่ ม ต้ น กับ ครอบครั ว ใหม่ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ายเลื อ ดเดี ย วกัน ท าให้ ตัว ละครมี ก าร
เปลี่ยนแปลงไปดังนี ้ อาทิเช่น ตัวละครสามารถดาเนินชีวิตในสังคมภายนอกได้ เพียงลาพัง ซึ่งอัน
เป็ นผลพวงมาจากกาลังใจในครอบครัวใหม่ที่ได้ ใช้ ชีวิตอยู่ด้วย และตัวละครได้ มีแรงผลักดันในชีวิต
จากการเรี ยนรู้ เรื่ องชีวิตและความตายในพื ้นที่ของครอบครัวตัวเองและครอบครัวใหม่อย่างบ้ าน
ทะนะเบะ ไม่วา่ จะการตายของยายหรื อเอะริโกะ
จากข้ างต้ นก็จะสามารถเห็นความสัมพันธ์ ระหว่างแก่นเรื่ องและห้ องครัวอยู่ ผู้วิจยั คิดว่า
แก่นเรื่ องที่ผ้ เู ขียนต้ องการสื่อถึงคือ การค้ นหาความหมายของชีวิตและการใช้ ชีวิตอย่างมีความหวัง
ของตัวละครท่ามกลางสถานการณ์ และสังคมภายนอกที่โหดร้ าย โดยความสัมพันธ์ ระหว่างแก่น
เรื่ องและห้ องครัวก็คือ มนุษย์ทุกคนย่อมต้ องการปั จจัย 4 ในการดาเนินชีวิตซึ่งจาเป็ นต่อการ
เจริญเติบโตทางด้ านร่างกาย โดยห้ องครัวก็คือแหล่งที่ให้ พลังงาน ดังจะเห็นว่าตัวละครมิกะเงะที่จะ
ใช้ อาหารเพื่อเยี ยวยาคนในครอบครั วโดยให้ เกิดพลังกายก่อน แต่นอกจากการที่ ห้องครัวจะให้
พลังงานด้ านปั จจัย 4 แล้ ว การได้ ปฏิสมั พันธ์กบั คนในครอบครัว ซึ่งเป็ นสิ่งสาคัญสาหรับตัวละคร
นัน้ ห้ องครัวจึงกลายเป็ นปั จจัย 5 สาหรับตัวละคร กล่าวคือ เป็ นสิ่งจาเป็ นด้ านจิตใจ ที่ไม่ได้ สมั ผัส
จากวัตถุที่จบั ต้ องได้ ตัวละครจึงได้ เรี ยนรู้ การมีปัจจัยที่ 5 จากพื ้นที่ห้องครัวนี ้ ซึ่งได้ ให้ สิ่งที่เป็ น
56
ความหมายนามธรรมและลึกซึ ้งในชีวิต สาหรับตัวละครพื ้นที่ห้องครัวจึงไม่ใช่เพียงให้ พลังงานด้ าน
ร่างกาย หรื อเป็ นปั จจัย 4 เท่านัน้ ตัวละครจึงได้ เติบโตทางด้ านร่างกายและจิตใจ นอกจากนี ้การให้
และรับในเรื่ อง เช่นการฝึ กทาอาหารของตัวละครมิกะเงะก็ยงั ได้ สร้ างกระบวนการเรี ยนรู้เรื่ อง สัจ
ธรรมชีวิตของตัวละคร ไม่ว่าจะเป็ นการรู้ จกั ประเมินตนเอง การมีสติรับรู้จากสัมผัสทัง้ 6 นอกจาก
ตา หู จมูก ลิ ้น กาย แล้ วยังได้ ฝึกจิตใจของตนเอง การรับรู้ ทางด้ านจิตใจอันนาไปสู่การคิดอย่างมี
ปั ญญา ตรึกตรองถึงความเป็ นสัจธรรมของชีวิต
ดังนันสามารถกล่
้
าวโดยสรุปได้ ว่าความหมายของพื ้นที่ห้องครัวที่สื่อถึงพื ้นที่ของครอบครัว
โดยจากประสบการณ์ชีวิตของตัวละคร และการเรี ยนรู้จากสิ่งนันรวมถึ
้
งแรงผลักดันจากครอบครัว
ทะนะเบะ ก็แสดงให้ เห็นถึงหนทางที่ทาให้ ตวั ละครต่อสู้ยืดหยัดต่อไปในชีวิต โดยพื ้นที่ห้องครัวก็
เปรี ยบเสมื อนพื น้ ที่ ครอบครั วก็ไ ด้ มีส่วนเกี่ ยวพันธ์ ในการต่อสู้ฟั นฝ่ าชี วิตของตัวละคร อาทิ เช่น
นิยามครอบครัวใหม่ของคนที่ต้องใช้ ชีวิตในครอบครัวที่ไม่สมบูรณ์มาตลอดอย่างตัวละครมิกะเงะ
ซึง่ ตัวละครได้ เรี ยนรู้จากครอบครัวใหม่ที่เธอได้ ประสบพบเจออย่างครอบครัวทะนะเบะ อีกทังยั
้ ง ทา
ให้ ตวั ละครได้ ยอมรับความจริงในชีวิตหรื อสัจธรรมในชีวิตที่ว่าทุกคนย่อมมีความทุกข์ ความผิดหวัง
สิ ้นหวังในชีวิต รวมทังไม่
้ สามารถหลีกหนีความตายได้ ไม่วา่ จะคนสาคัญในชีวิตและตัวเธอเองก็ตาม
อีกทังถึ
้ งแม้ สดุ ท้ ายครอบครัวของเธอจะเหลือเพียงเธอคนเดียวลาพังเธอก็จะสามารถมีชีวิตอยู่อย่าง
มีความหวังต่อไปได้ อย่างแน่นอน
57
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรำยผลและข้ อเสนอแนะเพิ่มเติม
งานศึกษาพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรมเรื่ อง คิ ทเช่น (キッチン) ของโยะชิโมะโตะ บะนะนะ
ฉบับนี ้ เป็ นงานวิจยั เชิงพรรณนา โดยมีจดุ มุ่งหมายเพื่อศึกษาการนาเสนอพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ องว่ามี
การนาเสนออย่างไรบ้ างและศึกษาว่าพื ้นที่ห้องครัวมีส่วนเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ ในเนื ้อหาและแก่นเรื่ อง
อย่างไร โดยได้ ใช้ วิธีการศึกษาพื ้นที่เพื่อหาความหมายนามธรรมของพื ้นที่ห้องครัวในเรื่ องจากหลัก
การศึกษาพื ้นที่ 5 ประการของ โรลองด์ บูร์เนิฟ โดยวิเคราะห์จากพื ้นที่ห้องครัวในตัวบทวรรณกรรม
เรื่ อง คิ ทเช่น
1. สรุปผลกำรวิจัย
จากการศึกษาพื ้นที่ห้องครัวจากแกนหลัก 5 ประการในการศึกษาพื ้นที่ของบูร์เนิฟ ทาให้ ได้
ความหมายนามธรรมที่ผ้ เู ขียนต้ องการสื่อ โดยได้ เห็นการนาเสนอห้ องครัวในแบบภาพรวมทังหมด
้
และตามลาดับความเปลี่ยนแปลงสถานการณ์และอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครในเรื่ องแล้ วพบว่า
พื ้นที่ห้องครัวมีความสาคัญในฐานะฉากและเป็ นตัวแทนของพื ้นที่ครอบครัวสาหรับตัวละคร โดย
พื ้นที่ห้องครัวนันมี
้ ส่วนช่วยให้ ตวั ละครมีการเปลี่ยนแปลงไปและมีความสัมพันธ์ กับแก่นเรื่ องที่ว่า
ตัวละครการค้ นหาความหมายของชีวิตและใช้ ชีวิตอย่างมีความหวังต่อไป คือ
1. พื ้นที่ที่ตวั ละครได้ เรี ยนรู้ เรื่ องชีวิตและความตาย โดยในส่วนนี ้พื ้นที่ห้องครัวได้ เปรี ยบ
เสมือนครอบครัวแรกเริ่ มของตัวละคร ทาให้ ตวั ละครโหยหาเมื่อยามที่ยายสมาชิกคนสุดท้ ายของ
ครอบครัวได้ ตายจากไป แต่ก็เป็ นเสมือนจุดเริ่มต้ นให้ ตวั ละครได้ ค้นหาความหมายของการมีชีวิตอยู่
จากการตายของคนในครอบครัวนี ้เอง
2. การทาหน้ าที่ให้ -รับ ของตัวละครหลักกับสองแม่ลกู ทะนะเบะ ซึ่งในส่วนนี ้พื ้นที่ห้องครัวก็
เปรี ยบเสมื อนครอบครั วใหม่ที่ทาให้ ตัวละครได้ รับประสบการณ์ ชี วิตและแรงผลักดันจากคนใน
ครอบครัวทะนะเบะ จากการให้ และรับนี ้ทาให้ ร้ ูว่าพื ้นที่ห้องครัวไม่ได้ เป็ นที่ที่ผ้ หู ญิงจะต้ องให้ หรื อรับ
อย่างใดอย่างหนึ่งเสมอไป แต่ในฐานะครอบครัวแล้ วสมาชิกทุกคนจะต้ องให้ และรับไปไปด้ วยกัน
เป็ นแรงผลักดันกันและกัน
58
ซึง่ ความสัมพันธ์ของแก่นเรื่ องและห้ องครัวนันจะท
้ าให้ เห็นการเปลี่ยนแปลงของตัวละคร ใน
ที่นี ้จะเน้ นไปในด้ านทัศนคติของการใช้ ชีวิต และยอมรับสัจธรรมของชีวิต ซึ่งเห็นได้ ชดั จากก่อนและ
หลังได้ ใช้ ชีวิตอยูก่ บั ครอบครัวทะนะเบะ ซึง่ สะท้ อนจากในตัวบทที่เกี่ยวข้ องกับพื ้นที่ห้องครัวและการ
ทาอาหารของตัวละครมิกะเงะ กล่าวคือพืน้ ที่ห้องครั วทาให้ ตวั ละครเกิดกระบวนการเรี ยนรู้ ชีวิต
นอกจากปั จจัย 4 ที่เป็ นพื ้นฐานจาเป็ นในการดาเนินชีวิต แล้ วยังมีเรื่ องของปั จจัยที่ 5 จึงทาให้ ตวั
ละครเติบโตทางด้ านร่ างกายและจิตใจ ซึ่งผู้แต่งได้ ใช้ พื ้นที่ห้องครัวในการนาเสนอเรื่ องราวของตัว
ละครและชูแก่ นเรื่ อ งที่ ส ะท้ อนจากพื น้ ที่ ห้ องครั ว ซึ่ง อาจจะเป็ นเหตุผลหนึ่ง ที่ ผ้ ูวิ จัยเห็น ว่าพื น้ ที่
ห้ องครัวมีความสาคัญจนถึงเป็ นชื่อเรื่ องด้ วย
2. ข้ อเสนอแนะ
สาหรับงานวิจยั ฉบับนี ้ได้ ม่งุ ศึกษาในเรื่ องของฉากหรื อพื ้นที่ห้องครัวในวรรณกรรม ที่มีการ
ปฏิวตั ิจากห้ องครัวในวรรณกรรมก่อน ๆ ที่ไม่ใช่เพียงเกี่ยวข้ องกับเพศสภาวะเท่านัน้ แต่ได้ ศกึ ษาว่า
พื ้นที่ห้องครัวนันได้
้ ถกู นาเสนอไว้ อย่างไร และมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้ องกับแก่นเรื่ องอย่างไร ซึ่งผู้วิจยั
ได้ ผลว่าพื ้นที่ห้องครัวมีความสาคัญอันเป็ นพื ้นที่ที่ทาให้ ตวั ละครเกิดกระบวนการเรี ยนรู้ชีวิตมากขึ ้น
จึงทาให้ ตวั ละครเติบทังทางด้
้
านร่ างกายและจิตใจ แต่ผ้ วู ิจยั คิดว่าหากดูปัจจัยด้ านอื่นที่ไม่ใช่เพียง
แค่ฉากและพื ้นที่ อาจจะทาให้ เห็นถึงแก่นเรื่ องได้ แตกต่าง เช่น อาจจะมีปัจจัยทางด้ านสังคมหรื อ
สภาพสังคม ชนชัน้ สถานะ สภาพแวดล้ อมที่ทาให้ ตวั ละครเปลี่ยนแปลงไป
59
第1章
序論
1.研究動機
『キッチン』という小説は職業作家としての吉本バナナの最初の作品である。こ
の作品は吉本バナナの最も有名な作品として知られている。小説『キッチン』が出版さ
れた後に、「バナナマニア」というブーム現象が起こった。それは欧米の著名な雑誌や
新聞などにも載っていた。さらに、文学賞を受けたり、映画が作られたり、世界中の
様々な言語に翻訳されたり、したので、日本以外でも広く知られている。また、『キッ
チン』の特長は台所の空間があって、台所空間は小説の大切な場面である。それは、小
説の必要な要素の一つである。小説の場面は具体的な意味だけでなく、抽象的な作者の
想像も考えさせられる。それで、なぜ吉本バナナの『キッチン』の中では台所空間が使
われたのか問題に思い研究することにした。
2. 問題提起
1.) 『キッチン』の台所空間はどう表わされているか。
2.)
台所空間と小説の内容との関係はどうか。
3. 研究の目的
1.)
『キッチン』の台所空間に関して研究する。
2.)
台所空間と小説テーマとの関係を考察する。
4. 研究の範囲
吉本ばなな著・角川書店刊の小説『キッチン』初版第 16 刷を使用する。
5. 研究の方法の概略
1.)
小説『キッチン』を精読する。
2.)
作者の経歴およびこの小説が書かれた背景を調べる。
3.)
この小説に関しての様々な情報と他の研究を集めて調べる
60
4.)
台所空間を分析する。
5.) 台所空間で起こった事情と主人公の想像との関係はどうかを分析する。
6.) 台所空間と小説の内容との関係はどうか、主人公にとってどういう意味かを、
資料によって分析する。
61
第2章
先行研究
1. 吉本バナナの『キッチン』について
1.1 作家の略歴
吉本バナナの本名は吉本真秀子で、1964年7月24日に東京で生まれた。吉
本の父親は作家、哲学者、評論家として有名な吉本隆明である。姉の漫画家はハルノ宵
子という名前である。卒論としての作品『ムーンライト・シャドウ』で日本大学芸術学
部を卒業した。1988年に初作品『キッチン』が出版された。1987年に『キッチ
ン』で第 6 回海燕新人文学賞を受けた。それより、作品『キッチン』が世界中で30ヶ
国の他の言語で翻訳された後、「バナナマニア」というブーム現象が起こった。アメリ
カやヨーロッパの雑誌や新聞にも載った。さらに、ノーベル文学賞の受賞の期待夢もあ
る。
1.2 『キッチン』の概要
この小説の本文は2章からなる。第1章は「キッチン」で、主人公の桜井みかげ
が自分のことや田辺家のアパートに引っ越した時のことについて語る。第2章は
「満
月」で、みかげが田辺家のアパートを出た後、主人公の田辺えり子になれたことを語
る。
みかげはこの世界中で一番好きな場所は台所と思う主人公である。両親と祖父を
早くに亡くし、祖母と暮らしてきた大学生のみかげだが、その祖母さえも亡くしてしま
い、天涯孤独の身となった。祖母の葬式の時、同じ大学の学生で、 祖母の行きつけの花
屋でアルバイトしている田辺雄一に誘われ、雄一のアパートに居候することとなった。
雄一はオカマバーを経営する母のえり子(実は性転換した父の雄司)と二人暮らしであ
る。みかげは田辺家のキッチンで眠るようになり、えり子と雄一とも少しずつ仲良くな
った。元彼氏との再会を経て、日を追うごとに祖母の死を受け入れ、みかげの心は再生
していく。
みかげは大学も休学し、世話になった田辺家からも独立して、有名な料理研究家
のアシスタントとして働いている。ある日雄一 から、えり子が店の客に殺害されたと連
絡が入る。みかげは、急いで田辺家のアパートに行って、そのまま雄一と同居生活に入
った。えり子の死から立ち直れずにいる雄一は伊勢原にかくれてしまった。伊豆に出張
していたみかげは、深夜にタクシーで雄一に出来たてのカツ丼を届けようとする。最後
に、二人ともお互いにお土産をあげることについて電話で話をした。
62
2. 小説における場所の理論
2.1 場所の意味と役割
場所・空間・エリア・場面は小説の必要な要素の一つである。サハロット・キッ
ティマハチャルエン (สหโรจน์ กิตติมหาเจริ ญ) によると、文学の場所は具体的な意味がある
だけでなく、抽象的な意味もある。それは、場所への人間の思想を心得ることである。
チットラダ・スワッティクン (จิตรลดา สุวต
ั ถิกลุ ) によると、場所と場面は小説の筋たて
がもっと躍如になり、主人公の行動に影響を与える役割として考えられる。
2.2 小説の場所に関する分析
17-18世紀に、作家は小説の場所を必要な要素として詳しく書かなかった。
しかし、19世紀の終わりから20世紀の初めに、小説の場所が主人公の行動と性格と
気分に影響を与えるのにたいへん必要な要素となった。従って、小説の場所を調べて、
分析することが多くなっていく。
1970年に、ローラン・ブルヌフ(Roland
Bourneuf)は作品『小説における場所
の要素を調べる』で、小説の本文を調べて、主な要素として場所を重要視することにな
ったとした。本研究では、その5つの方針通りに本文を調べて、『キッチン』の台所の
空間を分析する。それは、
1. この小説の起こった状況の場所はどこか。
2. どのような方法で場所を説明するのか。
3. 場所の役割はどのように主人公に影響を与えるのか。
4. 場所は小説の内容と雰囲気にたいしてどのような意味があるのか。
5. 場所は作者の思想としてどのような説明をするのか。
3. 先行研究
笹月洋子の研究『ばなな『キッチン』における言語行為について統合されるジェ
ンダー』では、どのようなジェンダーのイメージを表すのか、『キッチン』の主人公の
行動言語と行為を調べて、分析されている。
この研究では、4つの要点から分析した。それは、
1.『キッチン』におけるジェンダーの保守性をめぐって
63
2. 言語行為におけるジェンダー・バランス「申し出る」雄一と「誘う」みかげ
3. ジェンダーの解体−越境と反転
4. ジェンダーの統合
先行研究の結果は:
吉本氏は主人公の経済的な自立にあまり関心を持っていないように思えるが、ジ
ェンダー・フリーの実現には経済的自立が重要である。その意味では私たちの前に、吉
本氏の創り出す、新しい女性の主人公が登場することをひそかに願っている。(笹月洋子,
2002, p.109)
その先行研究によると、筆者にとって、台所の空間は小説の必要な場所なので、
ジェンダーのイメージしかなくても小説の場所からも分析することができるという意見
がある。
64
第3章
小説での台所の空間について
この章で小説『キッチン』での台所空間と主人公の台所空間に対しての感想を集
めた。それは、『キッチン』の台所空間はどう表わされているかということが次の章で
分析することに必要だからである。ローラン・ブルヌフの小説の場所の分析の方法を使
って、台所空間の情報を5つの項目に分けて分析した。それは、1.台所空間の位置と
周囲、2.台所空間の雰囲気、3.台所空間の役割、4.小説の台所空間の意味、5.
作家の思想としての台所空間の意味。
1. 台所の所在地と周囲
本文の中にある台所空間は大体東京にある。その主な場所はみかげの家、田辺家
のマンション、調理室である。
全部の場所の台所空間を調べてから、各所の台所空間の所在地と周囲は相違点が
あると示された。例えば、みかげの家の台所は小さいアパートにある和室で、あまりモ
ダンな台所用品がなく、二人の祖母と孫にとって必要な家とものであった。ところが、
田辺家のマンションの台所は十階にある高い LDK の部屋で、様々なモダンな台所用品が
あり、二人の母親と息子にとって必要な家とものであった。それに、実際の場所の雰囲
気と比べて小説の場所の雰囲気はどうなのかと考えさせた。その結果として、次になぜ
主人公が行うか、その時はどんな場面かということが見えた。
2. 台所空間の雰囲気
この項目で、筆者は小説の台所空間をどのように説明しているかということを考
察した。それぞれの場面でどんな言語を使ったか。それは、画家が絵を描くような画法
のようである。その画法は、絵の要素、次元、色合いなどを扱っている。
その結果として、みかげの家の台所空間では、祖母がまだいる時に色々な明るい
言葉が使われたが、祖母が亡くなった時には、『暗い』や『悲しみ』や『宇宙の闇』と
いう言葉などが使われた。田辺家の台所空間もその場面と同じ言葉が使われた。それ
は、家の中で主人公が皆一緒にいる時に、台所空間の場面は明るく、暖かい雰囲気がし
た。それに、田辺家の台所空間は主人公に影響をあたえた空間である。ところが、調理
室の雰囲気はその2つと違った。そこはみかげの職場なので、真面目で、プロの雰囲気
がする空間である。そのため、台所の雰囲気を考察することによって、台所空間は主人
公に影響をあたえた空間で、主人公の気分もその場面通りに変わったと分かった。
3. 台所空間の役割
台所空間の役割を考察することによって、小説の主人公と場面との関係を調べ
て、登場した主人公はどんな人かを分析した。それは、台所空間はどのように主人公に
65
影響をあたえたか、どんなことなのか、順番に主人公の状況がどう変わったかという考
察である。
その結果として、みかげの家の台所の役割はみかげの育ちと生活を表しているこ
とがわかった。そのことで、主人公のみかげは台所を好むくせがあることや孤独な気持
ちの理由が分かった。田辺家の台所の役割は田辺家の二人(えり子と雄一)の生活を表して
いる。それに、主人公みかげは田辺家の家族の一員になったことを表している。それに
よって、みかげと田辺家の人はお互いに仲良くなったことが見えてくる。しかし、調理
室の台所はただ社会の場面で、主人公みかげが一人の社会人になったことが分かった。
4. 小説の台所空間の意味
この項目では、小説の台所空間は場面でしかないか、それとも主人公のかわりの
ようなものかを分析した。他には、小説でどのような雰囲気がしたか、どう主人公が影
響をうけたかを調べた。
その結果として、みかげの家の台所はみかげの祖母のかわりのような空間であ
る。また、田辺家の台所は田辺家の人(えり子と雄一)のかわりのような空間である。 し
かし、調理室の台所は誰の代わりにもならない空間で、ただ社会の場面でしかなかった
と分かった。
5. 作家の思想としての台所空間の意味。
この項目では、台所空間の抽象的な意味を分析した。なお、筆者は台所空間をシ
ンボルに使うことによって、どういう意味があるかを考えた。それは、1―4項目で分
析した結果から情報を考察した。
1-4項目の結果は、作家は『台所』と『調理室』の意味を分けて、主人公みか
げの一番大事な台所空間は、自分の家の台所と田辺家の台所だと考えた。それで、作家
の思想としての台所空間の意味は『家族の空間』だと分かった。
考察したの5つの項目の結果によって、小説『キッチン』の台所空間は日本社会
の中で孤独な生活という内容が表わされている。しかし、日本社会だけでなく、最近世
界中の社会でも、この小説の内容と同じ状況が起るかもしれない。それは、作家は台所
空間をシンボルにすることによって、小説の粗筋や主人公の気持ち・行動と他の主人公
との関係を示すからである。
66
第4章
分析した結果
小説のキッチンについて先行研究を考察してから、様々な論があたが、私は、家族の
皆が死んだ後、主人公は希望の生活のための方法を探したということがテーマだと分か
った。
これは、このように台所空間の影響を受けた。
1. 主人公みかげに「死」のことを考えさせた空間。
最初は、台所空間は主人公の祖母の代表である。祖母は死んでから、主人公は家族を
追慕したので、台所以外どこでも眠れなかった。これは、家族を失ったので主人公が絶
望的な生活になったからである。一方、家族を失ったことで主人公が再生の方法を探し
たがっていたことが分かった。
さらに、田辺家に住んでいる時、主人公の新しい台所空間ではえり子さんが代表する
人物になった。えり子さんが死んでから、また主人公は死のことを考えたが、この前と
違って、彼女は生命の真理を理解したと分かった。
2. 主人公の与える―受け取るという行動があった空間。
これは、田辺家の台所空間である。ここで主人公は田辺家と一緒に暮らしていて、田
辺家の母子に料理を作ってあげた。それに、主人公も田辺家の母子も、彼らはお互いに
人間関係が良かったである。料理とか物より愛とか善意とかお互いに与えあったので、
家族のような関係になった。それで、主人公に新しい家族の意味を考えさせた。父―母
―子 3角形という家族しかなくても、彼女が安心できたら、それは彼女にとっての家
族だと分かった。
3. 台所空間とテーマとの関係
筆者は主人公は希望の生活のための方法を探したということがテーマによると、台所
空間との関係は基本的人間のニーズについてのものだと思う。それは、人間の身体の成
長に大切と分かった。しかし、身体の成長だけでなく、もう一つ必要なこともある。そ
れは、人間の精神の成長に大切な空間だと分かった。小説『キッチン』の主人公の皆は
台所空間で人間関係があって、その人間の成長という基本的人間ニーズが受け取ったと
分かった。それで、身体も精神も両方が成長できたと分かった。
67
第5章
まとめ
1. まとめ
本稿は小説の台所空間を考察するための研究で、ローラン・ブルヌフの小説の場
所の分析の方法を使って、台所空間の情報を5つの項目に分けて分析した。そこから、
主人公の一番大事な台所空間は家族の空間だと分かった。そのことは台所空間の抽象的
意味である。分析した時に台所空間とテーマとの関係はどうかというと、台所空間によ
って主人公みがけの生活観は変えられた。主人公は生命の真理を理解したので、将来の
ことが怖くなくなったり、幸せに生活できるようになったと分かった。
2. 提案
本稿は小説の台所空間を考察するための研究である。台所空間とテーマとの関係によ
れば、台所空間によって、主人公は身体の成長も精神の成長もできて、生活観が変わっ
たと分かった。しかし、他の小説の要素はテーマのところは異なるかもしれない。さら
に、主人公の社会環境や身分や状態や年齢などからも考察できると思う。
68
บรรณำนุกรม
จิตลดา สุวตั ถิกลุ . (2527 ). วรรณกรรมไทยร่ วมสมัย (พิ มพ์ครั้งที ่ 2). นครปฐม: แผนก
บริการกลาง สานักงานอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บริ ษัท เมตามีเดีย เทคโนโลยี จากัด. (ม.ป.ป). ราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ.2542. ค้ นเมื่อ 16
กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก http://dict.longdo.com
บริษัท สนุก ออนไลน์ จากัด. (ม.ป.ป). ราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ.2542. ค้ นเมื่อ 16
กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก http://dictionary.sanook.com
ประทีบ เหมือนนิล. (2523). วรรณกรรมไทยปัจจุบนั . กรุงเทพ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
โยชิโมโต, บานานา. (2550). คิ ทเช่น (เพลงดาบแม่น ้าร้ อยสาย, ผุ้แปล). กรุงเทพ: บริ ษัท
บลิช พับลิชชิ่ง จากัด.
วัลยา วิวฒ
ั น์ศร. (2541). มิ ติสถานทีใ่ นนวนิ ยายของ ฟร็ องซัวส์ โมริ ยคั . กรุงเทพ: โครงการ
ตาราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. (2554). "พื ้นที่" ในเรื่ องสันดรรชนี
้
นางของอิงอร. การประชุมทาง
วิ ชาการระดับชาติ “ภาษา วรรณคดีไทย และการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : การ
เรี ยนรู้และสร้างสรรค์จากสังคมไทยสู่สงั คมโลก” , หน้ า 310-324.
อภิญญา เฟื่ องฟูสกุล. (2543.). "พื ้นที่"ในทฤษฎีสงั คมศาสตร์ . ในสังคมศาสตร์ , หน้ า 65160.
อัจฉรา เหมวรางค์กลู . (2555). ตัวละครเอกหญิงในนวนิยายเรื่ องคิทเช่น. เอกสารหลังการ
ประชุมวิ ชาการระดับชาติ เครื อข่ายญี ่ปนุ่ ศึกษาในประเทศไทย ครั้งที ่ 5: ญี ่ปนุ่ ศึกษากับการพัฒนา
ทีย่ งั่ ยืน . หน้ า 287-299
อิงอร สุพนั ธุ์วณิช. (2547). วรรณกรรมวิ จารณ์ . กรุงเทพ: บริษัท แอคทีฟ พริน้ จากัด.
69
BANANA YOSHIMOTO Official Site . Yoshimoto Banana. (2001). profile. ค้ นเมื่อ 22
มกราคม 2559 ค้ นจาก http://www.yoshimotobanana.com/profile/
Banana Yoshimoto-A Blog . Yoshimoto Banana. (2009). A little bit about me. ค้ น
เมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก http://yoshibanana.blogspot.com/2009/01/little-bit-aboutme.html
Goodreads. (ม.ป.ป.). ปราบดาหยุน่ . ค้ นเมื่อ 25 มกราคม 2559 ค้ นจาก
http://www.goodreads.com/author/show/2918498._
Mwave. CJ E&M Corp. (2013). enewsworld. ค้ นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก
http://mwave.interest.me/enewsworld/
Suzuki Italia S.p.A. (2012). Japancoolture. ค้ นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2559 ค้ นจาก
http://www.japancoolture.com/en/banana-yoshimoto-and-the-young
The Internet Movie Database (IMDb). (ม.ป.ป.). Kitchen 1989. ค้ นเมื่อ 25 มกราคม
2559 ค้ นจาก http://www.imdb.com/title/tt0122133/
The Internet Movie Database (IMDb). (ม.ป.ป.). Kitchen 1997.ค้ นเมื่อ 25 มกราคม
2559 ค้ นจาก http://www.imdb.com/title/tt0116785/
The Japan Times. (ม.ป.ป.). Culture. ค้ นเมื่อ 22 มกราคม 2559 ค้ นจาก
http://www.japantimes.co.jp/culture/
Tokyo Metropolitan Government. (ม.ป.ป.). History of Tokyo. ค้ นเมื่อ 8 มีนาคม 2559
ค้ นจาก http://www.metro.tokyo.jp/ENGLISH/ABOUT/HISTORY/history01.htm
吉本バナナ. (2005). キッチン. 東京: 株式会社角川書店.
江種満子 (1988)、『台所お文学研究と』、『日本近代文学』第 38 集、p.113
70
笹川洋子 (2002)、「吉本ばなな『キッチン』における言語行為について 統合され
るジェンダー」、親和國文 第 37 号、p.86-111
酒井一郎 (1997)、『キッチン』のテクストで〈家族〉を考える(II)、『聖カタ
リナ女子短期大学紀要』第 30 号、p.15
71
Fly UP